ผลของ Pediatric Early Warning Score : PEWS ในการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อเฉียบพลัน หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
คำสำคัญ:
การเฝ้าระวัง, โรคติดเชื้อเฉียบพลัน, ประเมินผล, Pediatric Early Warning Score : PEWSบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผล 1) การใช้รูปแบบการคัดกรองด้วย Pediatr- ic Early Warning Score : PEWS ระบบทางเดินหายใจติดเชื้อเฉียบพลันที่พัฒนาและปรับปรุงขึ้นเพื่อดูแลตามมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยเด็กในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพย าบาลพหลพลพยุหเสนา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี โดยประเมินจากอุบัติการณ์ Unpl- anned ICU, Unplanned ETT, Unplanned CPR, Morbidity rate และ Mortality rate ลดลงอย่างน้อย 5% เมื่อกับเดือนก่อนหน้าที่จะใช้รูปแบบการคัดกรองด้วย Pediatric Early Warning Score : PEWS ระบบทางเดินหายใจติดเชื้อเฉียบพลันที่พัฒนาและปรับ ปรุงขึ้น และ 2) ความพึงพอใจของผู้ปกครอง ญาติ หรือผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กต่อการให้บริการด้า นมาตรฐานการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็ก ที่เข้ามาใช้บริการระหว่างเดือนเมษายนถึงเดื- อนมิถุนายน 2563 ใช้วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1) ผู้ป่วยเด็กทุกรายที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี และ 2) ผู้ปกครอง ญาติ หรือผู้ดูแลผู้ป่วยเด็ก จำนวน 166 ราย โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย เก็บข้อมูลโดย 1) อุบัติการณ์ Unplanned ICU, Unplan- ned ETT, Unplanned CPR, Morbidity rate และ Mortality rate จากข้อมูลผู้ป่วยที่บันทึกไว้ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2562 ถึงเดือนมิถุนายน 2563 และ 2) แบบสอบถามควา มพึงพอใจในผู้ปกครอง ญาติ หรือผู้ดูแลเด็ก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ซึงผลการวิจัยพบว่า
1) อุบัติการณ์ Unplanned ICU, Unplanned ETT, Unplanned CPR, Morbid- ity rate และ Mortality rate ลดลงมากกว่า 5% เมื่อกับเดือนก่อนหน้าที่จะใช้รูปแบบการคัดกรองด้วย Pediatric Early Warning Score : PEWS ระบบทางเดินหายใจติดเชื้อเฉี- ยบพลันที่พัฒนาและปรับปรุงขึ้น โดยระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน 2563 พบว่ามีอุบัติกา- รณ์ที่เฝ้าระวังทุกด้านเป็นศูนย์ราย
2) ผู้ปกครอง ญาติ หรือผู้ดูแลเด็กมีความพึงพอใจต่อมาตรฐานของพยาบาลวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยเด็ก หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรมล่าง ในภาพรวมอยู่ระดับมาก ( = 4.39, S.D. =0.45) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่ามีระดับความพึงพอใจมากถึงมากที่สุด โดยในด้านสิ่งอำ นวยความสะดวกมีระดับความพึงพอใจมากที่สุด ( = 5.00, S.D.=0.64) รองลงมา คือด้านคุณภาพการให้บริการ ( = 4.33, S.D.=0.47) และลำดับที่สามคือในด้านขั้นตอนการให้บริ การ ( = 4.24, S.D.=0.51) ตามลำดับ
References
กองการพยาบาล. คู่มือการจัดการบริการพยาบาลจากหลักการสู่การปฏิบัติ. 2539. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิไลลักษณ์ โรจนประเสริฐ. (2553). การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการได้รับออกซิเจน. ในกัลยา นาคเพ็ชร์ และคณะ (บรรณาธิการ). ตำราการพยาบาลเด็กเล่ม 1, 2553: หน้า 33-56. กรุงเทพ: วิทยาลัยพยาบาลสภาการชาดไทย.
วิมลพรรณ สังข์สกุล. (2555). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กระบบทางเดินหายใจ. ในพรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา (บรรณาธิการ). การพยาบาลเด็กเล่ม 2, 2555: หน้า 51-118. นนทบุรี: ยุทธรินทร์ การพิมพ์.
รัชนีย์ พิมพ์ใจชน. (2560). ศึกษาผลของการใช้รูปแบบเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงและสัญญาณเตือนของผู้ป่วยต่อการย้ายเข้าหอผู้ป่วยวิกฤตโดยไม่ได้วางแผนและความพึงพอใจของพยาบาล. http://www.cbh.moph.go.th/app/intranet/files/km/1507186947_8.%20รัชนีย์%20พิมพ์ใจชน.pdf.
สมหญิง โควศวนนท์. (2552). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ. ในบุญเพียร จันทวัฒนา และคณะ (บรรณาธิการ). ต าราการพยาบาลเด็กเล่ม 2, 2552 : หน้า 605-674. กรุงเทพฯ: พรีวัน.
สำนักระบ าดวิทย า กระทรวงส าธ า รณสุข. (2561). ร าย ง านโ รคใน ระบบเฝ้า ระวั ง 2561 . http://www.boe.moph.go.th/boedb/d506_1/ds_wk2pdf.php?ds=31&yr=61.
ส ม ฤ ดี ชั ย วี ร ะ วั ฒ น ะ . ( 2 5 5 1 ) . ป อ ด บ ว ม ภั ย ร า ย ใ ก ล ตั ว เ ด็ ก เ ล็ ก ที่ ถู ก ลื ม .
http://thainews.Prd.go.th/Influenza/index.php.
อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล. (2544). เส้นทางสู่โรงพยาบาลคุณภาพ: คู่มือการเรียนรู้เชิงปฏิบัติ. นนทบุรี: สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล.
อุดมพร คำล้ำเลิศ. (2555). การพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลในหออภิบาลทารกแรกเกิด โรงพยาบาลสมุทรสาคร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Akre M, Finkelstein M, Erickson M, Liu M, Vanderbilt L & Billman G. (2010). Sensitivity of The Pediatric Early Warning Score to identify patient deterioration. Pediatrics; 125(4): e763.
Ball, J. W, et al. (2012) . Principles of pediatric nursing: caring for children. 5thed. USA: Pearson.
Duncan H, Hutchiton J, Parshuram CS. (2006) . The pediatric early warning system score: A severity of illness score to predict urgent medical need in hospitalized children. Journal of Critical Care; 21(3): 271-279.
Edwards E, Powell C, Mason B, Oliver A. (2009) . Prospective cohort study to test the predictability of the Cardiff and Vale paediatric early warning system. Journal Medicine; 94(8): 602.
Monaghan, A. (2005) . Detecting and managing deterioration in children. Paedistric Nurs.; 17(1): 32-35.
Potter, P.A., Perry, A.G. (1985). Fundamentals Of Nursing : Concepts, Process And Practice. New York: Mosby, Incorporated.
Tucker, et. al. (2009). Improved record-keeping with reading handovers. Nursing management (Harrow, London, England: 1994) 16(8):30-4.
Aday, Lu Ann, and R. Andersen. (1975). Development of Induce of Access to Medical Care.Michigan Ann Arbor: Health Administration Press.
Chang, K. (1997). Dimensions and indications of patients’ perceived nursing care quality in hospital setting. Journal of Nursing Care Quality 11: 26–37.
Parasuraman, A., Zeithaml, V.A., and Berry, L.L. (1990). Delivery Quality Service : Balancing Customer Perceptions and Expectations. New York: Free Press.
Tenner, A. R., and Detoro, L. J. (1992). Total Quality Management : Three step to continuous improvement. Reading, MA: Addison–Weslay.
World Health Organization. Fact sheets detail pneumonia. (2017). https://www.who.int /en/news-room/fact-sheets/detail/pneumonia
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.