ความรู้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในประชาชน ตำบลไทรงาม อำเภอไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการป้องกันโรค, , อุจจาระร่วง, กลุ่มวัยทำงานบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและเปรียบเทียบระดับความรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในประชาชนตำบลไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร สุ่มกลุ่มตัวอย่างจำนวน 392 คน ตามสัดส่วนของประชากร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความรู้ และพฤติกรรม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรนณา
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ระดับสูง มากกว่าร้อยละ 80 ขึ้นไป โดยมีคะแนนสูงสุดในเรื่องโรคอุจจาระร่วงเกิดจากการกินอาหารหรือน้ำไม่สะอาด มีเชื้อโรคปนเปื้อน และเก็บอาหารให้มิดชิด ไม่ให้แมลงวันตอม สามารถป้องกันโรคอุจจาระร่วงได้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงของประชาชนตำบลไทรงาม ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมระดับดีมาก ร้อยละ 44.6 (X= 1.97, S.D. = 0.530) โดยพฤติกรรมที่ปฏิบัติได้ทุกครั้ง คือ ถ่ายอุจจาระในห้องส้วม ส่วนพฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติเลย คือ เมื่อรับประทานอาหารไม่หมด จึงนำไปเก็บไว้ในตู้กับข้าวเพื่ออุ่นกินใหม่
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้คือ ควรมีการศึกษาด้านอื่นๆ ร่วมด้วยเนื่องจากผลโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก แต่เมื่อพิจารณารายข้อยังพบพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงที่ไม่ดี อาจส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนจนเกิดการระบาดของโรคต่อไปได้
References
เอกสารอ้างอิง
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สรุปรายงานเหตุการณ์ที่สำคัญทางระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 5. [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : https://ddc.moph.go.th/
uploads/publish/1384320230210090030.pdf.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร. สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงจังหวัดกำแพงเพชร 5 ปีย้อนหลังและแยกรายอำเภอ. [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : https://mis.kpo.go.th/web-cdc/index.php.
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล. โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea). [อินเตอร์เน็ต]. 2563. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : https://www.tropmedhospital.com/
knowledge/acute_diarrhea_intro.html.
คนึง คีรีพูนผล. (2566). ความรู้ และพฤติกรรมการปฏิบัติตนในการควบคุมป้องกันโรคอุจจาระร่วง ของประชาชนชาวกระเหรี่ยงเผ่าปกาเกอะญอ ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านกาหม่าผาโด้ ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก. การประชุมวิชาการสาธารณสุขเขตสุขภาพที่ 2 (R2R). [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : https://hpc2appcenter.anamai.moph.go.th/
academic/web/files/2566/r2r/MA2566-004-02-0000001334-0000001446.pdf.
ธนาสิทธิ์ วิจิตราพันธ์. (2564). การสอบสวนโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในโรงเรียนแห่งหนึ่ง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์, 15(1), 55-66.
ธเนศ กรัษนัยรวิวงค์. กรมควบคุมโรคเผยตัวเลขผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วง 2 เดือนป่วย 127,902 คน เฝ้าระวังเด็กเล็ก-ผู้สูงอายุ. [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaipbs.or.th/
news/content/325009.
ธิติมา เงินมาก. โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea). [อินเตอร์เน็ต]. 2561. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : http://www.med.nu.ac.th/dpMed/fileKnowledge/140_2018-05-01.pdf.
นัฏกร สุขเสริม. (2562). พฤติกรรมในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงของประชาชนในตำบลสวนผึ้ง อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 14(2), 214-221.
นันท์นภัส เพ็ชรสุวรรณ และสุเวช พิมน้ำเย็น. (2560). ผลการใช้โปรแกรมการส่งเสริมการปฏิบัติสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในชุมชนชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง อำเภองาว จังหวัดลำปาง. สมาคมสถานบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 6(1), 15-26.
ภัทรานิษฐ์ เหมาะทอง, วินิดา ทองโคตร และสุพรรณี อึ้งปัญสัตวงศ์. การกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร Yamane. [อินเตอร์เน็ต]. 2560. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : https://sc2.kku.ac.th/
stat/statweb/images/Eventpic/60/Seminar/01_9_Yamane.pdf.
ยุวดี แก้วประดับ, สิริมา มงคลสัมฤทธิ์ และภาวินี ด้วงเงิน. (2565). ลักษณะทางระบาดวิทยาของการระบาดแบบกลุ้มก้อนและมาตรการควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในประเทศไทย. วารสารวิชาการสำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา, 28(2), 71-80.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 นครสวรรค์. รายงานสถานการณ์โรคอุจจาระร่วงเขตสุขภาพที่ 3 นครสวรรค์. [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : http://odpc3.ddc.moph.go.th/
datacenter/srr506/situiationindex.php.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร. ประชากรสัญชาติไทยเทียบกับฐานทะเบียนราษฎร์ ตำบลไทรงาม อำเภอไทรงาม จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2566. [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ22 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก : https://kpt.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report.php?&cat_id=ac4eed1bd
db23d6130746d62d2538fd0&id=b79d2503134f09e13681be97491753cf.
สุกัญญา จงศิริยรรยง และทัศนีย์ พานอนันต์. (2563). การสอบสวนการระบาดของโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในที่พักชั่วคราวจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารควบคุมโรค, 47(4), 1103-1115.
อลงกฎ ดอนละ. (2562). ความรู้ พฤติกรรมการปฏิบัติตนในการควบคุมและป้องกันโรคอุจจาระร่วงของประชาชน อำเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10, 17(2), 59-66.
อัศรีย์ พิชัยรัตน์, เบญจวรรณ ช่วยแก้ว และจันทร์เพ็ญ เลิศวนวัฒนา. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเฉียลพลันของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็ก โรงพยาบาลตรัง. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 26(2). 82.97.
Bloom, B. (1956). Taxonomy of Education Objective Handbook I: Cognitive Domain. New York: David Mc Kay Company. https://eclass.uoa.gr/modules/document/file.php/PPP242/
Benjamin%20S.%20Bloom%20%20Taxonomy%20of%20Educational%20Objectives%2C%20Handbook%201_%20Cognitive%20DomainAddison%20Wesley%20Publishing%20Company%20%281956%29.pdf.
Hossain, S., Islam, M. M., Khokon, M. A. I., & Islam, M. M. (2021). On Prevention of Diarrheal Disease: Assessing the Factors of Effective Handwashing Facilities in Bangladesh. Journal of Population and Social Studies [JPSS], 30, 103–115. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jpss/article/view/256281.
Wendy B. and Andrew S. (2014). Acute Diarrhea in Adults. Am Fam Physician. 2014;89(3), 180-189. https://www.aafp.org/pubs/afp/issues/2014/0201/p180.html.
World Health Organization. (2013). World Health Statistics. Geneva: Publications of the World
Health Organization. https://iris.who.int/bitstream/handle/10665/82058/WHO_HIS_?
sequence=1.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.