ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ
คำสำคัญ:
ผู้สูงอาย, ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, คุณภาพชีวิตบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพ
ชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรคือ
ผู ้สูงอายุที ่มีรายชื ่อตามทะเบียนบ้านเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัด
อุตรดิตถ์ พ.ศ.2567 จำนวน 341 คน โดยใช้สูตรการคำนวณกลุ่มตัวอย่างที่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน
ของ Daniel ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 200 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือ
แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรอบรู ้ด้านสุขภาพ และคุณภาพ
ชีวิต ทดสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์โดยแบบสัมภาษณ์ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาจาก
ผู ้เชี ่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน และนำไปทดลองใช้เพื ่อวิเคราะห์ค่าความเชื ่อมั ่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ ์แอล
ฟ่าครอนบาค ได้ค่าความเชื ่อมั ่นของแบบสัมภาษณ์ เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของ
ผู ้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านความรอบรู ้ด้านสุขภาพ (P-value<0.001) ประกอบด้วย ความรู้
ความเข้าใจ (P-value<0.001) การเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพและบริการสุขภาพ (P-value=0.002) การสื่อสาร
เพิ ่มความเชี ่ยวชาญ (P-value<0.001) และการจัดการตนเองให้มีความปลอดภัย (P-value=0.015)
ตามลำดับ
References
เอกสารอ้างอิง
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2566). คลังปัญญา (KM DOP) เรื่อง การดูแลผู้สูงอายุ. สืบค้น 10 พฤษภาคม
จาก https://www.dop.go.th/th/know/15/741#:~:text.
กรเกล้า รัตนชาญกร และคณะ, (2566). การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ เพื่อ
คุณภาพชีวิตที่ดี. นครปฐม. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลับคริสเตียน, 10(1),
(85-96), สืบค้น 15 พฤษภาคม 2567. จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/
index.php/CUT_Nursejournal
กองสุขศึกษา. (2561). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ. กรมสนับสนุนบริการ
สุขภาพ. สืบค้น 26 กรกฎาคม 2567. จาก https://hed.go.th/guideline/
ณรงศักดิ์ ตะละภัฎ และคนอื่นๆ. (2535). ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ: พรสิวาการพิมพ์.
ณัฎฐกันย์ อ๋องเอื้อ. (2564). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองบ้านสวน จังหวัด
ชลบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา
ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี.(2566). ทฤษฎีการสื่อสาร, 2566. สืบค้น 26 กรกฎาคม 2567 จาก
file:///C:/Users/ASUS/Downloads/KU-INP-00457%20(2).pdf
ทะนงศักดิ์ วันชัย, (2552). คุณภาพชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ตะวันออกวิทยาเขตบางพระ. (ม.ป.ท.) : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก.
นิสา ปัญญา. (2564). การพัฒนารูปแบบตำบลจัดการคุณภาพชีวิตโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนส้มป่อย อำเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์
มหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ. (2535).การประเมินผลกระทบขององค์กรกลาง.กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บำเพ็ญ ไมตรีโสภณ. (2565). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารกับผู้สูงอายุกับการแพร่
ระบาดของข่าวสารในช่วงสถานการณ์ไวรัสโคโรน่า 19. มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตม
ฟอร์ด. 7(9), 157-172. สืบค้น 22 พฤษภาคม 2667. จาก https://www.tci-thaijo.org/
พระสุธี การดำริห์. (2565). การเสริมสร้างพลังอำนาจเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุใน
โรงเรียนผู้สูงอายุของจังหวัดนครปฐม. มหาวิทยาลัยศิลปากร.วารสาร มจร พุทธปัญญา ปริทรรศน์, 8(5), 193-207. สืบค้น 18 พฤษภาคม 2567.
จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/264261
พัชราภรณ์ พัฒนะ. (2561). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในศูนย์การเรียนรู้การดูแลผู้สูงอายุ เขต
สุขภาพที่ 4. ศูนย์อนามัยที่ 4. สระบุรี. พุทธชินราชเวชสาร, 36(1), 21-33. สืบค้น 18
พฤษภาคม 2567. จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/BMJ/article/
พัณณิน กติพราภรณ์. (2531). ชีวิตที่มีคุณภาพ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
พิเชษฐ์ จั่นแก้ว และคณะ, (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอบาง
คนที จังหวัดสมุทรสงคราม. ราชบุรี. วารสารวิจัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิต
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี, 3(2), (60-71), สืบค้น 20 พฤษภาคม 2567.
จาก https://he02.tci- thaijo.org/index.php/RHQJ/issue/view/18248
มันโซร์ ดอเลาะ. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ กรณีศึกษา: ตําบลบาละ อําเภอกาบัง จังหวัดยะลา. (วิทยานิพนธ์
ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิต). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
มนฑิญา กงลา. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชนบท เขตเทศบาล
อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี. สารคาม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 18(3), (75-85),
สืบค้น 29 กรกฎาคม 2567. จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MKHJ/article
มนันญา ภู่แก้ว.(2553). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546. สำนักกฎหมาย. สืบค้น 10 พฤษภาคม
จาก https://www.parliament.go.th/ewtadminewt/elawparcy/
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์. (2558). โรคในผู้สูงอายุ. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2567.
จาก https://www. Bumrungrad.com/th/health-blog/january-2015/health-
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม. (2566). สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2566.
เอกสารอัดสำเนา.
ศูนย์ปฏิบัติการกรมอนามัย (DOC4.0). กรมอนามัย. (2567). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2567.
จาก https://doc.anamai.moph.go.th/index.php?r=str-project/view&id=6096.
สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล และวิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล. (2554). เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของ
องค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย. กรมสุขภาพจิต. สืบค้น 15 พฤษภาคม
จาก https://dmh.go.th/test/whoqol/.
สมใจ อ่อนละเอียด. (2564). ความรอบรู้ด้านสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ
ของผู้สูงอายุพฤฒพลัง จังหวัดนครปฐม. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 14(3),
(333-345), สืบค้น 30 กรกฎาคม 2567. จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php
สมรัตน์ ขำมา. (2560). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. วารสารเครือข่าย
วิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 3(3), (153-162), สืบค้น 30 กรกฎาคม
จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/scnet/article/view
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ กระทรวงสาธารณสุข. (2567). Health Data Center
Uttaradit. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2567. จาก https://utt.hdc.moph.go.th/hdc
สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. (2567). ระบบสถิติทางการทะเบียน. สืบค้น 12
พฤษภาคม 2567. จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMenu/
อธิชา วุฒิรังสี. (2564). การรู้เท่าทันสื่อดิทัลของผู้สูงอายุ. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 21(1), (90-106)
อภิเชษฐ์ จำเนียรสุข และคณะ. (2560). คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังในอำเภอสีชมพู
จังหวัดขอนแก่น. วารสารราชพฤกษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนคราชสีมา, 15(2), (16-26),
สืบค้น 26 กรกฎาคม 2567. จาก https://search.tci- thailand.org/
อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2557). การพัฒนาและใช้เครื่องมือประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ
ของคนไทยวัยผู้ใหญ่ในการปฏิบัติตามหลัก 3อ.2ส. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้น 11 พฤษภาคม 2567. จาก http://bsris.
swu.ac.th/upload/243362.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.