ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูก ข้าวในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมืองจังหวัดอุตรดิตถ

ผู้แต่ง

  • วสันต์ หนองคาย

คำสำคัญ:

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, พฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช, เกษตรกรผู้ปลูกข้าว

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ
และพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ประชากรคือ เกษตรกรผู้ปลูก
ข้าวที ่มีรายชื ่อตามทะเบียนบ้านและอาศัยอยู ่ในพื ้นที่จริงอย่างน้อย 1 ปีขึ ้นไป ในพื ้นที ่โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 879 คน โดยใช้สูตรการคำนวณขนาด
กลุ่มตัวอย่างของ Daniel เท่ากับ 267 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันการใช้
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาจากผู ้เชี ่ยวชาญ 3 ท่าน และ
นำไปทดลองใช้เพื ่อวิเคราะห์ค่าความเชื ่อมั ่น โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.81
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ความรอบรู ้ด้านสุขภาพ
ประกอบด้วย การเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพและบริการสุขภาพ ความรู ้ความเข้าใจทางสุขภาพ ทักษะการ
สื่อสาร ทักษะการตัดสินใจ การจัดการตนเอง การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยความ
รอบรู ้ด้านสุขภาพ อยู ่ในระดับสูง (83.10%) ความรอบรู ้ด้านสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ
ป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู ้ปลูกข้าวในพื ้นที ่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน
ด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านการสื ่อสาร (r=-0.070, P
value=0.256) ด้านทักษะการจัดการตนเอง (r=0.364, P-value<0.001) ทักษะการตัดสินใจ (r=-0.126, P
value=0.040) การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (r=-0.147, P-value=0.016) ตามลำดับ

References

เอกสารอ้างอิง

กองสุขศึกษา (2559). ความหมายความรอบรู ้ด้านสุขภาพ(Health Literacy).กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ปีงบประมาณ 2559.

จงรัก สุวรรณรัตน์ พบ.ธณกร ปัญญาใสโสภณ ปร.ด.การวิจัยและพัฒนารูปแบบความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ต่อพฤติกรรมป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกร

Journal of Nursing and 4 มีนาคม พ.ศ.2565

ธวัชชัย เอกสันติ,นิภา มหารัชพงศ,ยุวดี รอดจากภัย,อนามัย เทศกะทึก.(2565)ความสัมพันธระหวาง

ความรอบรูสุขภาพกับพฤติกรรมปองกันการรับสัมผัสสารเคมีกําจัดศัตรูพืชเกษตรกรผูปลูกขาว

จังหวัดนครราชสีมา.วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล.ปีที่28 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2565

แสงโฉม ศิริพานิช. (2556). สถานการณและผลตอสุขภาพจากสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช.รายงานการเฝา

ระวังทางระบาดวิทยาประจําสัปดาห,44, 689-92.สํานักการเกษตรจังหวัดกาญจบุรี (2559).ขอมูล

เศรษฐกิจการเกษตร. คนเมื่อ 7 เมษายน 2558

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์,2566. สรุปผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ2566.กลุ ่มงานอนามัย

สิ ่งแวดล้อม รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

อุตรดิตถ์.

อนันต์ อิฟติคาร, ศวิตา ศรีสวัสดิ์.(2566). ปัจจัยความรอบรู้ทางสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแล

สุขภาพของผู้สูงอายุจังหวัดสกลนคร.วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 16

ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน – มิถุนายน 2566

Best, John W. 1977. Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs,New Jersey

: Prentice Hall, Inc.

Bloom, Benjamin S. (1976). Taxonomy of Education Objective, Handbook I :

CognitiveDomain. New York : David Mckay.

Daniel,W.W. (2010). Biostatistics: Basic Concepts and Methodology for the Health Sciences

(9 thed.). New York: John Wiley & Sons.

Nutbeam D. Health literacy as a public health goal:a challenge for contemporary health

education andcommunication strategies into the 21st century.Health promotion

international 2000; 15(3): 259-67

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

หนองคาย ว. . (2024). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูก ข้าวในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมืองจังหวัดอุตรดิตถ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น, 5(4), 22–33. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3755