ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในพื้นที่ตำบลข่อยสูง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ
คำสำคัญ:
การเฝ้าระวังและส่งเสริม, พัฒนาการ, เด็กปฐมวัย, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนา วัตถุประสงค์เพื ่อศึกษาปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกัน
อันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย ประชากรคือ เกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในพื้นที่
ตำบลข่อยสูงและอาศัยอยู ่ในพื้นที ่ตำบลข่อยสูง ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 328 คน โดยใช้สูตรการ
คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Daniel เท่ากับ 194 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้
แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการ
ป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาจาก
ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน และนำไปทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค
เท่ากับ 0.911 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มี
ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประกอบด้วย การรับรู้
ประโยชน์ (P-value=0.001), การรับรู ้อุปสรรค (P-value<0.001), สิ ่งชักนำเพื ่อให้เกิดการป้องกัน (P
value<0.001) ระยะเวลาในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (P-value=0.018) ตามลำดับ
References
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงสาธารณสุข. (2567). คลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC-Dashboard).
https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index.php.
กนกวรรณ วรชินา. (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองในการใช้สารเคมีกำจัด
ศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ ส.ม.สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา.
กัลยา เทียมศร. (2565). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ของเกษตรกรผู้ ปลูกแตงโม อำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร วิทยานิพนธ์ ส.ม.สาขาวิชา
สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชัชวาล จันทรวิจิตร และ คณะ. (2564). คู่มือการใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัย. บริษัท สยามพิมพ์นาวา
จำกัด.
บัวทิพย์ แดงเขีอน และ คณะ. (2560) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร จังหวัดชัยนาท. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 10(4),
-122.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลข่อยสูง. (2567). รายงานสรุปผลการดำเนินงานด้านสาธารณสุขประจำปี
งบประมาณ 2567. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลข่อยสูง จังหวัดอุดิตถ์.
สุชาดา ข้องแก้ว. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของ
เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์.
วิทยานิพนธ์ ส.ม.สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์. (2567). คลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC-Dashboard).
https://utt.hdc.moph.go.th/hdc/reports/page.php?cat_id=f16421e617aed29602f9f09d
cce68
วรรณา วรรณศรี, น้ำทิพย์ อยู่ยืน และ ยุพมาศ สุกใส. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัด
ศัตรูพืชของเกษตรกรในพื้นที่บ้านปลื้มพัฒนา ตำบลโคกมะม่วง อำเภอปะคา จังหวัดบุรีรัมย์.
วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา, 8, 128-141.
Becker, M. H. (1974). The health belief model and personal health behavior Thorofare. NJ:
Charles B. Slack.
Best, John W. (1977). Research is Evaluation. (3rd ed). Englewod cliffs: N.J. Prentice Hall.
Cronbach. (1997). Essentials of Psychological Testing. New york: Harper and Row.
Daniel W.W. (2010). Biostatistics: Basic Concepts and Methodology for the Health Sciences. (9thed).
New York: John Wiley & Sons.
Nutbeam, D. (2000). Health Literacy as a public health goal: a challenge for contemporary
health education and communication strategies into health 21st century. Health
Promotion International. 15(8) printed in Great Britain.
Rosenstock, I. M. (1974). Historical origins of the health belief model. Health
Education Monographs, 2(4), 328-335.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.