ประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้สำหรับสตรี ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด งานการพยาบาลผู้คลอด โรงพยาบาลศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย

ผู้แต่ง

  • นันทวัน แก้วรักถา

คำสำคัญ:

การฝึกผ่อนคลาย, ความรู้, ภาวะเจ็บครรภ์คลอด

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยแบบกึ ่งทดลอง เพื ่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้
สำหรับสตรีที ่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด งานการพยาบาลผู ้คลอด โรงพยาบาลศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
กลุ ่มตัวอย่าง คือ หญิงตั ้งครรภ์ที ่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด จำนวน 30 คน แบ่งเป็น กลุ ่มที ่ได้รับการดูแล
ตามปกติ จำนวน 15 คน และกลุ่มที่โปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้ จำนวน 15 คน เครื่องมือ
ที ่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการการผ่อนคลายกล้ามเนื ้อร่วมกับการให้ความรู ้ เครื ่องมือที ่ใช้เก็บ
รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบความรู้เกี ่ยวกับการคลอด แบบประเมินความเครียดของหญิงตั ้งครรภ์
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติ Chi-square Wilcoxon sign rank test และ Mann -Whitney
U test
ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังจากได้รับโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้ในหญิงตั้งครรภ์
เจ็บครรภ์คลอด กลุ่มทดลองมีค่ามัธยฐานคะแนนความรู้ดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และกลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และมีค่ามัธยฐานคะแนนความเครียดดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และกลุ่ม
ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001
ทั ้งนี ้ พยาบาลห้องคลอดควรนำโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู ้ไปประยุกต์ใช้ใน
การดูแลหญิงตั ้งครรภ์ที ่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด โดยเฉพาะการให้ความรู ้รายบุคคลเกี ่ยวกับกระบวนการ
คลอด การเจ็บครรภ์คลอด และเทคนิคการเผชิญความเจ็บปวด

References

เอกสารอ้างอิง

กรมสุขภาพจิต. (2560). แบบประเมินและวิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเอง. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

ดาริกา วรวงศ์. (2554). ผลการใช้เทคนิคการหายใจ การลูบหน้าท้องและการนวดก้นกบต่อการลดความเจ็บปวด

และความพึงพอใจในมารดาที่ไม่เคยผ่านการคลอดในระยะที่ 1ของการคลอด. เชียงใหม่: (วิทยานิพนธ์

ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

ธัญญารัตน์ กุลณีจิตต์เมธ. (2560). ความปวดและการจัดการความปวดในระยะเจ็บครรภ์คลอด. วารสารสมาคม

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 6(2), 158-165.

เพียรดี เปี่ยมมงคล. (2553). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. กรุงเทพฯ: ธรมรมสาร.

วีรวรรณ ภาษาประเทศ, เพ็ญพักตร์ ลูกอินทร์ และสิตานันท์ ศรีใจวงศ์. (2566). การพยาบาลระยะคลอด.

นนทบุรี: ยุทธรินทร์ การพิมพ์.

วิทยา ฮามวงศ์. (2567). ผลของโปรแกรมฝึกเทคนิคการคลายเครียดร่วมกับการให้ความรู้ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ

เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด โรงพยาบาลวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร. วารสารสุขภาพสตรีและการคลอด,

(1), 78-92.

เบญจวรรณ ละหุการ, ศศิกานต์ กาละ และสุรีย์พร กฤษเจริญ. (2562). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ร่วมกับการ

ผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าต่อความเครียด ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด.

วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 6(2), 1-13.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2565). รายงานประจำปี 2565 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ

สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). กรุงเทพฯ.

เอมอร จ่าภา. (2563). ประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด

และอัตราการคลอดก่อนกำหนดในโรงพยาบาลปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารสุขภาพแม่และเด็ก,

(3), 112-126.

อัญชลี จิตราภิรมย์, จิรภา เสถียรพงศ์ประภา และอารีวรรณ กลั่นกลิ่น. (2561). การฝึกผ่อนคลาย;ภาวะเจ็บครรภ์

คลอดก่อนกำหนด. พยาบาลสาร, 45(4), 47-55.

Anderson J., Chen, P., & Wilson, M. (2019). The effects of breathing techniques on stress and

anxiety levels during labor. Journal of Maternal Health, 15(4), 345-359.

Brown R., Smith, L., & Davis, K. (2021). The role of active and passive progressive relaxation in

managing labor pain. . International Journal of Prenatal Education, 22(3), 221-234.

Bloom. (1971). Taxonomy of Education. New York: David McKay Company Inc.

Garcia Anderson, J. C. (2019). The effects of breathing techniques on stress and anxiety levels

during labor. Journal of Maternal Health, 15(4), 345-359.

Bloom. (1971). Taxonomy of Education. New York: David McKay Company Inc.

Brown, R. S. (2021). The role of active and passive progressive relaxation in managing labor pain.

. International Journal of Prenatal Education, 22(3), 221-234.

Garcia, A. &. (2022). Breathing techniques and anxiety reduction during childbirth: A clinical

study. Maternal and Neonatal Health Journal, 18(2), 145-159.

Johnson, H. &. (2020). Experiential learning and its impact on knowledge retention among

pregnant women. Journal of Women's Health Education, 17(1), 75-89.

Martinez, P. &. (2022). The effectiveness of integrated relaxation and knowledge programs in

reducing stress during pregnancy. Journal of Obstetric Care, 25(5), 301-318.

Wilson, K. &. (2021). Progressive muscle relaxation and cortisol levels in pregnant women: A

randomized trial. . Stress and Pregnancy Journal, 20(6), 512-526.

กรมสุขภาพจิต. (2560). แบบประเมินและวิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเอง. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

กุลณีจิตต์เมธ, ธ. (2560). ความปวดและการจัดการความปวดในระยะเจ็บครรภ์คลอด. วารสารสมาคม

สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 6(2), 158-165.

จ่าภา, เ. (2563). ประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และ

อัตราการคลอดก่อนกำหนดในโรงพยาบาลปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารสุขภาพแม่และเด็ก, 14(3),

-126.

เบญจวรรณ ละหุการ, ศ. ก. (2562). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้า

ต่อความเครียด ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาล

และการสาธารณสุขภาคใต้, 6(2), 1-13.

เปี่ยมมงคล, เ. (2553). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. กรุงเทพฯ: ธรมรมสาร.

วรวงศ์, ด. (2554). ผลการใช้เทคนิคการหายใจ การลูบหน้าท้องและการนวดก้นกบต่อการลดความเจ็บปวดและ

ความพึงพอใจในมารดาที่ไม่เคยผ่านการคลอดในระยะที่ 1ของการคลอด. เชียงใหม่: (วิทยานิพนธ์ปริญญา

มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

วีรวรรณ ภาษาประเทศ, เ. ล. (2556). การพยาบาลระยะคลอด. นนทบุรี: ยุทธรินทร์ การพิมพ์.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2565). รายงานประจำปี 2565 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ

สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). กรุงเทพฯ.

อัญชลี จิตราภิรมย์, จ. เ. (2561). การฝึกผ่อนคลาย;ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. พยาบาลสาร, 45(4), 47

ฮามวงศ์, ว. (2567). ผลของโปรแกรมฝึกเทคนิคการคลายเครียดร่วมกับการให้ความรู้ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บ

ครรภ์คลอดก่อนกำหนด โรงพยาบาลวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร. วารสารสุขภาพสตรีและการคลอด,

(1), 78-92.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

แก้วรักถา น. . (2024). ประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้สำหรับสตรี ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด งานการพยาบาลผู้คลอด โรงพยาบาลศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น, 5(4), 76–94. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3759