ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ในคลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลพญาแมน อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
คำสำคัญ:
โรคความดันโลหิตสูง, การควบคุมความดันโลหิต, พฤติกรรมบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมความ
ดันโลหิตของผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที ่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ในคลินิกโรคความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพญาแมน อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรคือ ผู ้ป่วยโรคความดัน
โลหิตสูง ที่มีระดับความดันโลหิต มากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ติดต่อกัน 6 เดือน ปีพ.ศ.2566 จำนวน
119 คน โดยใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Daniel (2010) เท่ากับ 110 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง
แบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล ด้านความรู้
ด้านทัศนคติ และพฤติกรรมสุขภาพ แบบสัมภาษณ์ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3
ท่านและนำไปทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.867
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ความสัมพันธ์กับ
พฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ของผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ประกอบด้วย ความรู้ (P
value=0.110), ทัศนคติ (P-value<0.001), ทัศนคติต่อการป้องกันโรค(P-value=0.001), ทัศนคติต่อการ
ปรับพฤติกรรม (P-value=0.001) ตามลำดับ
References
เอกสารอ้างอิง
กองโรคไม่ติดต่อ/ส ำนักสื ่อสำรควำมเสี ่ยงฯ กรมควบคุมโรค. (2023). วัดควำมดันโลหิตอย่ำงสม ่ำเสมอ “รู ้เลข รู้
เสี่ยง เลี่ยงโรคไม่ติดต่อ”, สืบค้นเมื่อ 14 สิงหำคม 2567.
จำก. https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=34117&deptcode=brc
จิราวรรณ เจนจบ, สุพัฒนา คำสอน. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยโรค
ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกศกาสร อำเภอลานกระบือ
จังหวัดกำแพงเพชร. นเรศวรวิจัย 2558;12:721-34.
เนาวรัตน์ จันทานนท์ และคณะ. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในอำเภอเมือง จังหวัด
ชุมพร. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554; 16(6): 749-758.
ปฐญาภรณ์ ลาลูน และคณะ. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการแผนกผู้ป่วย
นอก อายุรกรรมโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.วารสาร
การแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2554; 18(3): 160-69.
ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์, จันทนา รณฤทธิวิชัย, วิไลวรรณ ทองเจริญ, วีนัส ลีฬหกุล และพัสมณฑ์ คุ้มทวีพร. (2552).
พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: บุญศิริการพิมพ์.
สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2555). Thai Guidelines on The Treatment of Hypertension)
สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2567.
จาก https://utt.hdc.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php
สุธาทิพย์ รุ่งเรืองอนันต์. (2544). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในคลินิก
ความดันโลหิตสูง จังหวัดนครปฐม. ปริญญานิพนธ์. กศ.ม., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,
กรุงเทพมหานคร.
สุภาพร พูลเพิ ่ม. (2554). ปัจจัยที ่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงใน เขตตำบล
ขี้เหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. Journal of Nakhonratchasima College., 5(2), 49–54.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์. (2566). การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ, สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม
จาก.https://utt.hdc.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php
Ajzen, I. & Fishbein, M. (2002). Understanding Attitude and Predicting Social Behavior. New Jersy:
Prentice–Hall, Inc.
Best, John W. (1977). Research is Evaluation. (3rd ed). Englewod cliffs: N.J. Prentice
Hall:1977.Cronbach. (1997). Essentials of Psychological Testing. New York : Harper and Row.
Chobanian, A., V., Barkris, G., L., Black, H., R., Cushman, W., C., Green, L., A., Izzo, J., r., et., al.
(2003). The Seventh Report of the Joint National Committee on Prevention, Detection,
Evaluation, and Treatment of High Blood Pressure: The JNC 7 report. JAMA, 289 :2560-
Daniel, Wayne W., (1929).Biostatistics : a foundation for analysis in the health sciences / Wayne
W. Daniel ,New York : Wiley, 2005, 8th ed. 782 p.
Green LW., Kreuter MW. (1991). Health promotion planning. An Educational and Environmental
Approach. 2nd ed. Palo Alto: Mayfield.
Kirshner, H. S. (2009). Differentiating ischemic stroke subtypes: Risk factors and secondary
prevention. Journal of the Neurological Sciences, 279(1), 1-8.
World Health Organization (WHO). (2023). Hypertension, สื บค้ นเมื ่ อ 14 สิ งหำคม 2567 จำก.
https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/hypertension#
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.