ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา

ผู้แต่ง

  • สุธานาถ สนแย้ม
  • พรกนก คงเนตร
  • ธนัช กนกเทศ

คำสำคัญ:

พฤติกรรมสุขภาพ, การบริโภค, อาหาร, นักเรียน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์
กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จังหวัดพิษณุโลก
กลุ ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั ้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2566 จำนวน 239 คน เลือกกลุ่ม
ตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ ่มแบบหลายขั ้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ ่งได้รับการตรวจสอบ
ความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และได้ผ่านการตรวจสอบการหาค่าความเชื่อมั่นโดยหาค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์แอลฟาครอนบาค ได้ค่าความเชื ่อมั ่นเท่ากับ 0.81-0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี ่ย ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
เพียร์สัน และสถิติสหสัมพันธ์แบบอีต้า
ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 58.57 มี
พฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู ่ในระดับต่ำ รองลงมา มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู ่ในระดับปานกลาง
ร้อยละ 41.43 2) ปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ ่มตัวอย่างประกอบด้วย
ทัศนคติในพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แรงสนับสนุนจากบุคคลใกล้ชิดและการได้รับข้อมูลข่าวสารที ่ระดับ
นัยสำคัญทางสถิติ 0.05

References

เอกสารอ้างอิง

ณัฐฐินิชา คงสมทรง, วสุนธรา รัตโนภาส. (2565). พฤติกรรมการบริโภคอาหาร : กรณีศึกษานักศึกษาคณะ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร.

วารสาร มรภ.กพ.วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี,1(2)

นรลักขณ์ เอื้อกิจ. (2562) การศึกษาปัจจัยท านายพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ที ่มีน ้าหนักเกินเกณฑ์ในชุมชนต าบลล าไทร อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี.วารสารพยาบาล

สภากาชาดไทย,12(1)

นวารินทร์ พันธุ ์ชัยภูมิ และพิษณุ อุตตมะเวทิน. (2563). พฤติกรรมการเลือกบริโภคอาหารของ นักเรียน

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแวงน้อยศึกษา จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย สาธารณสุขศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น,14(1)

นิโรสลีดา นิเลาะและคณะ.(2565). ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคเครื ่องดื ่ม และภาวะ

โภชนาการของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา,งานประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี เครือค่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 7

วิลาสินิ หงสนันทน์.(2563). การพัฒนาแบบสอบถามการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่มีน ้าตาลของวัยรุ่นไทย.(วินท

ยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต) : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วสุนธรา รัตโนภาส.(2565). พฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในเขตพื้นที่ ต าบลคลองพิไกร อ าเภอพราน

กระต่าย จังหวัดก าแพงเพชร.วารสารวิจัยร าไรพรรณี, 16(1)

สุวรรณา เชียงขุนทด และคณะ. (2566) ความรู ้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชน ในเขตภาษีเจริญ

กรุงเทพมหานคร.วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 16(2)

ส านักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2562). ผักผลไม้สีรุ้ง กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.

เสน่ห์ ขุนแก้ว,อลิษา ขุนแก้ว,และสังวรณ์ งัดกระโทก .(2563). ค่าส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน.รูปแบบพฤติกรรมการ

บริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาลในจังหวัดอุตรดิตถ์: การวิเคราะห์ กลุ ่มแฝง.วารสารพยาบาล

กระทรวงสาธารณสุข, 30(3)

จุฑามาศ แก้วจันดี, เบญญา ภาหลงชิณ, และ รจรินทร์ สิทธิโสม (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการ

บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. วารสารสิ่งแวดล้อมศึกษา การ แพทย์และสุขภาพ, 9(2), 636-643.

วรวุฒิแสงทอง, สุชาดา นิ ้มวัฒนากุล, วรันณ์ธร โพธารินทร์,ศุภรดา มั่นยืน และ อลิษา ขุนแก้ว,(2566). ผลของ

โปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู ้ด้านโภชนาการต่อความรอบรู ้ด้านโภชนาการ และ พฤติกรรมการ

บริโภคอาหารของสามเณร จังหวัดสุรินทร์. Princess of Naradhiwas University Journal, 15(3).

ณัฐกร รัตนถาวรกิติ (2566). ปัจจัยที ่มีอิทธิพลต่อการรับรู ้ประโยชน์ในการเลือกบริโภคอาหารเพื ่อ สุขภาพจาก

กัญชาของผู้บริโภคชาวไทย. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 25(2), 185-194.

อดิษา สังขะทิพย์ และสุวลี โล่วิรกรณ์. 2560 พฤติกรรมการบริโภค อาหารและภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในต าบลกุดปลาดุก จังหวัดมหาสารคาม.วารสารวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 19(1)

Celik, Ö. M., Ozyildirim, C., & Karacil Ermumcu, M. S. (2023). Evaluation of food insecurity and its

association with food consumption and some variables among college students. Journal

of Health, Population and Nutrition, 42(1), 90.

Chatcharawan, M., Jaruporn, M., & Pongkaew, U. (2023). The influence of perceived value and

gender on local food consumption intentions in the northeastern cluster of Thailand.

Malaysian Journal of Nutrition, 29(2).

Darakai, H., Noonil, N., & Aekwarangkoon, S. (2024). Nutritional Status and Food Consumption of

Nursing Students in Southern Nursing College Network. Science, Technology, and Social

Sciences Procedia, 2024(4), ICMH02-ICMH02.

ElBarazi, A., & Tikamdas, R. (2023). Association between university student junk food consumption

and mental health. Nutrition and Health, 02601060231151480.

Kaewpawong, P., & Kusol, K. (2024). Relationship between Family Factors, Food Consumption

Behaviors, and Nutritional Status among Muslim School-Age Students in Nakhon Si

Thammarat Province, Thailand.

Kulpavaropas, S., & Puathanawat, N. (2024). Unveiling Thai University Students’ Perceptions of

Plant-Based Foods: A Pathway to Promote Healthy Eating. Suan Sunandha Asian Social Science,

(1), 85-99.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

สนแย้ม ส. ., คงเนตร พ. ., & กนกเทศ ธ. (2024). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น, 5(4), 136–147. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3763