ประสิทธิผลของระบบการดูแลผู้ป่วยในที่บ้านต่อความดันโลหิต พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ ลดปริมาณเกลือโซเดียม และความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ โรงพยาบาลบ้านตาก

ผู้แต่ง

  • ทศพล เต้มีย์

คำสำคัญ:

ระบบการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน, ความร่วมมือในการใช้ยา, ลดโซเดียม

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงปริมาณแบบสุ ่มและมีกลุ ่มควบคุมนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื ่อเปรียบเทียบผลของระบบการ
ดูแลผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที ่บ้านต่อระดับความดันโลหิต พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื ่อลดโซเดียม
และความร่วมมือในการใช้ยา กลุ ่มตัวอย่างเป็นผู ้ป่วยความดันโลหิตสูงที ่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้
จำนวน 56 คน แบ่งเป็นกลุ ่มทดลองและกลุ ่มควบคุมกลุ ่มละ 28 คน ติดตามผล 12 สัปดาห์ ผลการศึกษา
พบว่า ภายในกลุ ่มทดลอง หลังได้รับโปรแกรมมีคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื ่อลดเกลือโซเดียม
เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value<0.05) และมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น (P-value =0.03)
ส่วนกลุ่มควบคุมมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้นเช่นกัน (P-value =0.01) ด้านระดับความดันโลหิต พบว่า
ทั ้งสองกลุ ่มมีค่าความดันโลหิตซิสโตลิกและไดแอสโตลิกลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื ่อเปรียบเทียบ
ระหว่างกลุ ่ม พบว่ากลุ ่มทดลองมีความร่วมมือในการใช้ยาสูงกว่ากลุ ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P
value <0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างของคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และระดับความดันโลหิต
ระหว่างกลุ่ม

References

เอกสารอ้างอิง

World Health Organization. (2021). Guideline for the pharmacological treatment of

hypertension in adults. Retrieved February 19, 2024, from

https://iris.who.int/bitstream/handle/10665/344424/9789240033986-eng.pdf

Department of Disease Control. (2020). NCD system V.1.2: Results of the 6th Thai National

Health Examination Survey 2024. Retrieved February 21, 2024, from

http://ncd.ddc.moph.go.th/system/#/healthexam-list

Division of Non-Communicable Diseases. (2023). Number and mortality rate of 5 non-

communicable diseases (2017-2021). Retrieved February 21, 2024, from

http://www.thaincd.com/document/file/info/non-communicable-disease/จำนวนและอัตราตาย

ด้วย5โรคNCD25602564.xlsx

World Health Organization. (2023). Global report on hypertension: The race against a silent

killer. Retrieved February 21, 2024, from

https://iris.who.int/bitstream/handle/10665/372896/9789240081062-eng.pdf?sequence=1

World Health Organization. (2012). Guideline: Sodium intake for adults and children.

Retrieved February 22, 2024, from https://iris.who.int/handle/10665/77985

Intersalt Cooperative Research Group. (1988). Intersalt: an international study of electrolyte

excretion and blood pressure. Results for 24 hour urinary sodium and potassium excretion.

BMJ: British Medical Journal, 319-328.

Brown, I. J., Tzoulaki, I., Candeias, V., & Elliott, P. (2009). Salt intakes around the world:

implications for public health. International journal of epidemiology, 38(3), 791-813.

สำนักโรคไม่ติดต่อ. (2556). รายงานผลการทบทวน รูปแบบการดำเนินงานป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อในวิถี

ชีวิตด้วยการลดบริโภคเกลือ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

สำนักโรคไม่ติดต่อ. (2559). ยุทธศาสตร์ลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559-2568.

กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ลือชัย ศรีเงินยวง, ภนิตา วงษ์จินดา, และฐนิดา อภิชนกุลชัย. (2550). สถานการณ์การบริโภคเกลือโซเดียมใน

ประชากรไทย: การศึกษาเชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ: สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.

Mills, K. T., Stefanescu, A., & He, J. (2020). The global epidemiology of hypertension. Nature

Reviews Nephrology, 16(4), 223-237.

พัชราภรณ์ มีทรัพย์. (2564). ความชุกและปัจจัยที่ส่งผลให้ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดัน

โลหิตไม่ได้ตามเป้าหมายในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเชียงของจังหวัดเชียงราย. วารสารระบบบริการปฐม

ภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว,4(2),61-69

Burnier, M., Polychronopoulou, E., & Wuerzner, G. (2020). Hypertension and drug adherence

in the elderly. Frontiers in cardiovascular medicine, 7, 49.

Gotanda, H., Liyanage-Don, N., Moran, A. E., Krousel-Wood, M., Green, J. B., Zhang, Y., &

Nuckols, T. K. (2022). Changes in blood pressure outcomes among hypertensive

individuals during the COVID-19 pandemic: a time series analysis in three US healthcare

organizations. Hypertension, 79(12), 2733-2742.

Lee, S. G., Blood, A. J., Cannon, C. P., Gordon, W. J., Nichols, H., Zelle, D., ... & Fisher, N. D.

(2023). Remote cardiovascular hypertension program enhanced blood pressure control

during the COVID‐19 pandemic. Journal of the American Heart Association, 12(6), e027296.

Wiyathus, D. ., Siripakmanont, T. ., & Synlapakitkosol , U. . (2023). Development of A Home

Blood Pressure Monitoring-Based Self-Management Model in Patients with Hypertension and

Uncontrolled Blood Pressure. The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council, 38(04),

–399. https://doi.org/10.60099/jtnmc.v38i04.265506

กระทรวงสาธารณสุข. Health data center. [Online]. [cited 2024 Feb 24. Available from:

https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index.php.

กมลชนก จงวิไลเกษม, สงวน ลือเกียรติบัณฑิต. (2564). การพัฒนาแบบวัดความร่วมมือในการใช้ยาสำหรับคน

ไทย. วารสารเภสัชกรรมไทย, 13(1): 18-30.

Kara, K., Hoppe., Maureen, A., Smith., Jennifer, Birstler., KyungMann, Kim., Lisa, Sullivan-

Vedder., Jamie, N., LaMantia., Megan, R., Knutson, Sinaise., Matthew, Swenson., Jennifer, T,

Fink., Ryan, Haggart., Patrick, E., McBride., Diane, Lauver., Heather, M., Johnson. (2023). Effect

of a Telephone Health Coaching Intervention on Hypertension Control in Young Adults.

JAMA network open, 6(2):e2255618-e2255618. doi: 10.1001/jamanetworkopen.2022.55618

Nipawan, Thatthong., Kitti, Sranacharoenpong., Panrawee, Praditsorn., Piyanit, Churak.,

Punnee, Ponprachanuvut., Nuttarat, Srisangwan., Arisa, Keeratichamroen. (2020). Innovative

tool for health promotion for at-risk Thai people with hypertension. Journal of Public

Health, 28(4):437-443. doi: 10.1007/S10389-019-01028-W

เมืองเป้ ป., & จริยา ว. (2023). Predictive Factors of Reducing Salt and Sodium Consumption

Behavior among People with Risk of Hypertension in Nong Phai District, Phetchabun

Province. Journal of Health Science of Thailand, 32(1), 19–30. Retrieved from

https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/13288

Charoenwongsa, K., Wirojratana, V., & Wattanakitkrileart, D. (2022). The Effect of a Medication

Adherence Promotion Program through the Line Application on Older Persons with Essential

Hypertension. Nursing Journal CMU, 49(2), 313–325. Retrieved from https://he02.tci

thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/257738

Chaiwan, W., Narin, R., & Tuanrat, W. (2022). Effects of a Self-management Program onMedication Adherence and Blood Pressure Level Among Persons with Hypertension in a

Community. Nursing Journal CMU, 49(3), 218–232. Retrieved from https://he02.tci

thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/256311

วชิรารัตน์ วรรณศิริ, รณภูมิ สุรันนา, & ชนิดา โอษคลัง. (2024). ผลของโปรแกรมการพยาบาลเชิงรุก ต่อการ

ควบคุมความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง โรงพยาบาล

กาฬสินธุ์. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(5), 396-403.

Jisook, Ko., Kyung-Ae, An., Jing, Wang., Misook, L., Chung. (2023). Abstract P428: Evaluating a

Personalized Low Sodium Diet Intervention for Blood Pressure Control in Hypertensive

Patients: A Pilot Study. Circulation, 147(Suppl_1) doi: 10.1161/circ.147.suppl_1.p428

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

เต้มีย์ ท. . (2024). ประสิทธิผลของระบบการดูแลผู้ป่วยในที่บ้านต่อความดันโลหิต พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ ลดปริมาณเกลือโซเดียม และความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ โรงพยาบาลบ้านตาก . วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น, 5(4), 166–184. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3768