การออกแบบเครื่องแต่งกายจากผ้าทอ กลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุร
คำสำคัญ:
ผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกาย, ผ้าทอ, กลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื ่องแต่งกายจากผ้าทอ กลุ ่มชาติพันธุ ์ไทยทรงดำ อำเภอห้วยกระเจา
จังหวัดกาญจนบุรี มีวัตถุประสงค์เพื ่อศึกษารูปแบบจากผลิตภัณฑ์เครื ่องแต่งกาย จากผ้าทอ กลุ ่มชาติพันธุ์
ไทยทรงดำ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี และเพื ่อออกแบบผลิตภัณฑ์เครื ่องแต่งกาย
จากผ้าทอ กลุ ่มชาติพันธุ ์ไทยทรงดำ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี โดยออกแบบและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์เครื ่องแต่งกายจากผ้าทอ กลุ ่มชาติพันธุ ์ไทยทรงดำ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ที่
แตกต่างจากเดิม จำนวน 3 รูปแบบ แล้วนำไปสำรวจความพึงพอใจของผู ้บริโภคที ่มีต่อรูปแบบ ผลิตภัณฑ์
เครื ่องแต่งกายจากผ้าทอ กลุ ่มชาติพันธุ ์ไทยทรงดำ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี จากการสอบถาม
ความต้องการผลิตภัณฑ์เครื ่องแต่งกายจะเห็นได้ว่า ผู ้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมี ความต้องการ รูปแบบ
ผลิตภัณฑ์เครื ่องแต่งกายจากผ้าทอ รูปแบบที ่ 3 จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมา รูปแบบที ่ 1
จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 30 และ รูปแบบที ่ 2 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ซึ ่งเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน
References
เอกสารอ้างอิง
กมลวรรณ พัชรพรพิพัฒน์สารสุข. (2560). แนวทางในการพัฒนาศักยภาพทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ แฟชั่น
ประเภทกระเป๋าจากเศษผ้า. วารสารวิจิตรศิลป์, 8(1), 74-98.
กัมพล แสงเอี ้ยม. (2554). วัฒนธรรมร่วมสมัยสู่การปรับเปลี ่ยนรูปแบบ งานศิลปหัตถกรรมผ้าทอท้องถิ ่น. ลำปาง:
สาขาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กัลยา บงกชผ่องอำไพ. (2560). การทอผ้าของชาวกะเหรี ่ยง. ค้นจาก cddata.cdd.go.th/cddkm/prov/
km1_viewlist.php?div=38&action=view&kid=3758
ชนะพันธ์ รวีโชติภัคนันท์. (2554). วิถีชีวิตความเป็นมากะเหรี ่ยงกาญจนบุรี. ค้นจาก https://www.sac.
or.th/databases/ethnicredb/research_detail.php?id=1789
ชมจันทร์ ดาวเดือน. (2558). การพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์กระเปาสตรีจากผ้าทอโบราณบ้านผาทั ่งจังหวัด
อุทัยธานี. วารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 6(1), 127-128.
ฐิติพันธ์ จันทร์หอม. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอภูมิปัญญาของชาวไทยทรงดำในภูมิภาคตะวันตก ของ
ประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(1), 182-184
จันทร์หอม. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอภูมิปัญญาของชาวไทยทรงดำในภูมิภาคตะวันตก
ของประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(1), 182-184.
ตุนท์ ชมชื ่น และสมชาย ใจบาน. (2558). การเสริมสร้างศักยภาพการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชน “ผ้าทอ
กะเหรี ่ยง” ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสร้างสรรค์: กรณีชุมชนตำบลแม่ยาว อำเภอเมือง
จังหวัดเชียงราย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 3(2), 1-12.
บุญฤกธิ ์ ปวงชาติ. (2560). อุปกรณ์เสริมในการเย็บผ้า. ค้นจาก https://sites.google.com/site/karye
bpha156/khan-txn-kar-yeb-pha-dwy-cakr
บุรินทร์ รุจจนพันธุ ์. (2564). เกณฑ์สำหรับประเมินความพึงพอใจ. ค้นจาก https://www.thaiall.com/
blog/burin/1165/
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. (2555). ความสำคัญของผ้าทอ. ค้นจาก กะเหรี ่ยง…ich.culture.go.th/
index.php/th/ich/traditional-craftsmanship/242-cloths/375--m-s มัชฌิมา เนียมเกลี ้ยง. (2560).
ผ้าทอกะเหรี่ยง. ค้นจากhttps://district.cdd.go.th/khunyuam/ 2017/03/15/ผ้าทอกระเหรี่ยง/
รัชนีวรรณ บุญอนนท์ และคุณประภัสสร กลีบประทุม. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื ้นเมืองของ
บ้านโชคชัยพัฒนา ต าบลคลองลาน สู่ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว ของอำเภอ คลองลาน
จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 13(2), 17.
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. (2558). ผ้าทอท้องถิ ่น. ค้นจาก
rlocal.kru.ac.th/index.php/th/2013-12-09-04-39-58/287-2014-05-26-03-50-56
สุพจน์ ใหม่กันทะ. (2563). ความสวยงามของลวดลายบนวิถีชาติพันธุ์. เชียงใหม่: คณะศิลปกรรมและ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
Graham Forsdyke. (2020). A brief history of the sewing machine. ismacs.net/sewing_ma
chine_history.html#
SMART CHIC FASHION VINTAGE. (2014). ประเภทรูปทรงกระเป๋าแบบต่าง ๆ. ค้นจาก vintageblog. scf
vintage.com/blogvintage/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.