ประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์

ผู้แต่ง

  • ศรสวรรค์ ปรุณห์สิริ

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, ประสิทธิผล, โปรแกรมการส่งเสริมคุณภาพชีวิต, ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, คุณภาพชีวิต

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองศึกษาแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุ จำนวน 30 ราย โปรแกรมฯ พัฒนาขึ้นโดยนำผลวิจัยจากระยะที่ 1 มาใช้ออกแบบโปรแกรมฯ ได้แก่ ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพและมีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประกอบด้วย ความรู้ความเข้าใจ (P-value<0.001) การเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพและบริการสุขภาพ (P-value=0.002) การสื่อสาร (P-value<0.001) และการจัดการตนเอง (P-value=0.015) ตามลำดับ โดยประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ด้านสุขภาพ, การรับรู้ความสามารถตนเอง, การสร้างแรงจูงใจ, การสนับสนุนกำลังใจ, การเรียนรู้ปัญญาสังคม กิจกรรม, แรงสนับสนุนทางสังคม, ร่วมกับทฤษฎีแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 อบรมเพิ่มพูนความรู้ทักษะการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ กิจกรรมที่ 2 Self Help Group ในกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกิจกรรมโดยใช้รูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน กิจกรรมที่ 3 การเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยทีมสหวิชาชีพและเครือข่ายสุขภาพ กิจกรรมที่ 4 การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ดูแลและญาติ ระยะเวลาทดลอง 4 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ และสมุดบันทึกข้อมูลสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Independent t-test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลองตัวแปร ที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพ ประกอบด้วย ได้แก่ ด้านความรู้เข้าใจ (P-Value<0.001) การเข้าถึงข้อมูลบริการสุขภาพ (P-Value<0.001) การสื่อสาร (P-Value<0.001) และการจัดการตนเองให้มีความปลอดภัย (P-Value<0.001) ตามลำดับ

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ คลังความรู้. (2565) เรื่อง สิทธิ์และสวัสดิการผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม

เข้าถึงจาก https://www.dop.go.th/th/know/15/646#:~:text=%E0%B8%9

กรมกิจการผู้สูงอายุ คลังความรู้. (2564) เรื่อง การดูแลผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2567.

เข้าถึงจาก https://www.dop.go.th/th/know/15/741

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565) แผนปฏิบัติราชการ

กรมกิจการผู้สูงอายุ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570). สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2567.

เข้าถึงจาก https://www.dop.go.th/download/laws/th1714457495-845_0.pdf

กรฐณธัช ปัญญาใส. (2560) ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

บนพื้นฐานความต้องการของผู้สูงอายุ. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา. 12(2), (1-10).

สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/health/

กองสุขศึกษา. (2565). คู่มือการดำเนินงานสุขศึกษาตำบลจัดการคุณภาพชีวิต และชุมชนรอบรู้

ด้านสุขภาพ. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2567.

เข้าถึงจาก https://www.thaiphc.net/new2020/uploads/content/document/39

นิสา ปัญญา. (2564). การพัฒนารูปแบบตำบลจัดการคุณภาพชีวิตโดยการมีส่วนร่วมของ

ชุมชนส้มป่อย อำเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์

มหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2567.

เข้าถึงจาก http://202.28.34.124/dspace/bitstream/123456789/1522/1/.

นงนุช เชาวน์ศิลป์. (2563). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การพยาบาลผู้สูงอายุ. มหาวิทยาลัย

ราชภัฎนครปฐม. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2567.

เข้าถึงจาก https://pws.npru.ac.th/nongnutch/system/sys_article/

ภัทริน สุกาญจนาเศรษฐ์ และคณะ. (2553). การวิเคราะห์ข้อคำถาม ความตรงและความเที่ยงของ

แบบประเมินผลลัพธ์. วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ.10(2), 49-58.

มนันญา ภู่แก้ว. (2553). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546. สำนักกฎหมาย. สืบค้นเมื่อ 19

ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://www.parliament.go.th/ewtadminewt

โรงพยาบาลนครธน. (2553). ปัญหาของผู้สูงอายุที่พบบ่อย หากปล่อยไว้กระทบคุณภาพชีวิต .

สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://www.nakornthon.com/article/

วริยา บุญทอง และคณะ. (2564). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงาน

อายุ15-59 ปี 2564 เขตสุขภาพที่ 6. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2567.

เข้าถึงจาก https://hpc6.anamai.moph.go.th/th/general-of-3/download/?did=2

แว่นใจ นาคะสุวรรณ. (2563). ประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตของ

ผู้สูงอายุในชุมชน. กรุงเทพมหานคร. วิทยาลัยนานาชาติพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏ

พระนคร. วารสารพยาบาลตำรวจ. 12(1), 171-180.

ศิริวรรณ ริมโพธิ์เงิน. (2564). ผลการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของ

ผู้สูงอายุโรงพยาบาลสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2567

เข้าถึงจาก https://backgffice.udpho.org>control>download.

ศรสวรรค์ ปรุณห์สิริ, (2567). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลส่งเสริม

สุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นอร์ทเทิร์น. 5(4), 1-12.

สมชาย สุขสิริเสรีกุล. (2539). หลักการและการประยุกต์ใช้คุณภาพชีวิต. วารสารการวิจัยระบบ

สาธารณสุข. 4(3), 214-215.

สมรัตน์ ขำมา. (2560). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาล

ส่งเสริมสุขภาพตำบลนางเหล้า อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. วารสารเครือข่าย

วิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 3(3), (153-162).

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล และวิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล. (2554). เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตของ

องค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย. กรมสุขภาพจิต. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม

เข้าถึงจาก https://dmh.go.th/test/whoqol/.

สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์. (2565). เรื่อง ทำอย่างไรให้คุณภาพชีวิตดี. กรมสุขภาพจิต. สืบค้นเมื่อ

ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://dmh.go.th/news/view.asp?id=2486

สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข กองบริหารสาธารณสุข. (2566). แผนปฏิบัติราชการ

แผนการบูรณาการเพื่อการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ (พ.ศ.2566-2570). สืบค้นเมื่อ 18

ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://phdb.moph.go.th/main/editors/userfiles/file

อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2557). การพัฒนาและใช้เครื่องมือประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ของคนไทยวัยผู้ใหญ่ในการปฏิบัติตามหลัก 3อ.2ส. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก

http://bsris.swu.ac.th/upload/243362.pdf

อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2560). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย.

กองสนับสนุนบริการสุขภาพ. กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2567.

เข้าถึงจาก http://bsris.swu.ac.th/upload/268335.pdf

อนันต์ มาลารัตน์. (2560). ทฤษฎีและแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ.ศูนย์อนามัยที่ 5

สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://apps.hpc.go.th/dl/web/upFile/2

อรวรรณ มุงวงษา. (2563). ความหมายของแนวคิดพฤติกรรมสุขภาพ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://nurse.pbru.ac.th/th/wp-

เอมฤทัย กำเนิด. (2563) ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤฒพลังด้านการมีส่วนร่วมทางสังคมของผู้สูงอายุ.

สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2567. เข้าถึงจาก https://www.hu.ac.th/Conference/confe

Bandura, Albert. (1997). Self – efficacy : The exercise of control. New York : W.H. Freeman.

and company.

Green, L. W., & Kreuter M. (1999). Health Promotion Planning: An Educational And

Enviromental Approch. California: May field publishing.

Gibson, C.H. (1993). A study of empowerment in mother of chronically. Michigan:

Boston College.

House, J. W. (1981). Work stress and social support. Menlo park: Addison-Wesley.

Kemmis,s and McTaggart.R (1988). The action Researnch Planne. (3rded.). Geelong,

Australia: Deaking University Press. Nutbeam, D.(2008). The evolving concept of health literacy. Social Science Medicine.67.2072-

Roger, A., ( 1986 ). Teaching Adults. Milton Keynes : Open University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-04-2025

How to Cite

ปรุณห์สิริ ศ. . (2025). ประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น, 6(1), 42–57. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/4099