ผลของการใช้นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง

ผู้แต่ง

  • กนกนิภา สงเคราะห์ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กนกวรรณ บำรุงกิจ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กมลพร แสงเงินรอด นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กมลพรรณ เถียรทิน นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กรกต รัตนวงษ์ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กรรธิชา หัตถี นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กฤษณา ศรีทะประกอบ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ขวัญกมล วิมลโนช นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กัญญาภัค เมืองโคตร นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • กันฐิกา กอบสุข นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ยุรี เชาวน์พิพัฒน์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

เม็ดฟู่, ลูกน้ำยุงลาย, โรคไข้เลือดออก, ความพึงพอใจ, ปูนแดง

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองชนิด 1 กลุ่มวัดหลังการทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลพระปกเกล้า อาจารย์พยาบาลและนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีการศึกษา 2567 จำนวนรวม 33 คน เครื่องมือที่ได้แก่ นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง แบบบันทึกแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมฯ ดำเนินการวิจัยในเดือนเมษายน 2567 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ จำนวน ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า

หลังใช้นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง  กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจนวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้องในระดับมาก

ควรปรับปรุงนวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้องให้ดีขึ้นและศึกษาประสิทธิผลของนวัตกรรมดังกล่าวผ่านการวิจัยทดลองที่มีกลุ่มควบคุม

References

ธีราวุฒิ ภู่สันติสัมพันธ์, สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา, วีระเดช มีอินเกิด. (2565). จดหมายข่าววิจัยมหิดล นครสวรรค์, 3(1), 2-3.

ไพเราะ กุรุพินฑารักษ์. (2557). คู่มือการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคลำไส้โป่งพองแต่กำเนิด (Hirschsprung’s Disease). คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

ภราดร ยิ่งยวด, ปราโมทย์ ถ่างกระโทก, วริณญา อาจธรรม, ณัฐปัณฑ์ เพียรธัญญกรรม, พิศิษฐ์ พลธนะ, วินัย ไตรนาทถวัล. (2563). การศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาพยาบาลในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์, 4(2)

มะยุรีย์ พิทยาเสนีย์ และ พิชญาภา ยวงสร้อย. (2564). การคิดเชิงออกแบบ: ครูนวัตกรวิถีใหม่. วารสารราชภัฏลำปาง, 10(2).

ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์ และนันทิยา แสงทรงฤทธิ์. (2560). ผลของกิจกรรมเสริมทักษะต่อความรู้ และความมั่นใจของ นักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2. วารสารพยาบาลทหารบก, 18(1), 157-164.

ออสโตมี คลินิก. (2559). คู่มือการดูแลตนเองเมื่อมีทวารใหม่ระบบทางเดินอาหาร. งานการพยาบาลศัลยกรรม, กลุ่มภารกิจบริการวิชาการ, โรงพยาบาลราชวิถี.

Grant, M., McMullen, C. K., Altschuler, A., Hornbrook, M. C., Herrinton, L. J., Wendel, C. S., et al. (2012). Irrigation practices in long-term survivors of colorectal cancer with colostomies. Clinical Journal of Oncology Nursing, 16(5), 514-519. doi.org/10.1188/12.CJON.514-519

Iacobuzio-Donahue, C. A. (2009). Inflammatory and Neoplastic Disorders of the Anal Canal. In Surgical Pathology of the GI Tract, Liver, Biliary Tract and Pancreas. (pp. 733-761). Elsevier Inc. doi.org/10.1016/B978-141604059-0.50031-X.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-11