การบูรณาการการใช้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับกับคลาวด์เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาพยาบาล

ผู้แต่ง

  • มาลินี บุญเกิด วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
  • สุกัญญา กระเบียด วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
  • พัชรี สังสี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท
  • เสาวลักษณ์ ตันติสุวิชวงษ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท

คำสำคัญ:

การแก้ปัญหา, การสอนโดยใช้กรณีศึกษาเป็นฐาน, คลาวด์เทคโนโลยี, นักศึกษาพยาบาล

บทคัดย่อ

การออกแบบการเรียนการสอนโดยโดยบูรณาการการใช้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับการใช้คลาวด์เทคโนโลยีเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาทางการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล การแก้ปัญหาทางการพยาบาลมีขั้นตอนคือ การวิเคราะห์ ค้นคว้า ระบุประเด็นที่เป็นปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้   เพื่อนำไปสู่การระบุวิธีการแก้ปัญหาและเลือกวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดกับผู้ป่วย  การนำคลาวด์เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนถือเครื่องมือที่เหมาะสม  ทันสมัย  เหมาะสมสำหรับผู้เรียน เนื่องจากผู้สอนสามารถใช้คลาวด์เทคโนโลยี มากระตุ้นให้นักศึกษาเกิดปฏิสัมพันธ์ มีการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียนและผู้สอนตลอดการเรียนการสอน นอกจากนั้นคลาวด์เทคโนโลยียังใช้ในการนำเสนอกรณีศึกษาที่ใช้ในการเรียนการสอน การกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ตลอดจนการมอบหมายงาน อย่างไรก็ตามผู้สอนควรมีการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนและมีการเลือกใช้คลาวด์เทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมกับกรณีศึกษาเพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาพยาบาลเกิดทักษะการแก้ปัญหาทางการพยาบาล และนำไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ

References

กานตพร เจาะล้ำลึกและอนิรุทธ์ สติมั่น. (2561). ผลการเรียนอีเลิร์นนิงแบบใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณความสามารถในการแก้ปัญหาและการทำงานร่วมกันของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์. Veridian E-Journal. 11(2); 1422-1439.

จริญญา แก้วสกุลทอง, มัฏฐวรรณ ลี้ยุทธานนท์และผกาสรณ์ อุไรวรรณ. (2563). ผลของการใช้โปรแกรมเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาต่อทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 26(1); 7-27.

ปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธและสรัลรัตน์ พลอินทร. (2562). การจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาพยาบาลในศตวรรษที่ 21: กรณีศึกษากับการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง. วารสารกองทัพบก. 22(2); 10-16.

ปรียา สมพืช. (2559). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนด้วยกรณีศึกษา. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11(2); 260-270.

ชณิดาภา บุญประสม และกฤช สินธนะกุล. (2562). การสังเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ปัญหาเป็นฐานบนคลาวด์เลิร์นนิ่งเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(3), 165-173.

เทพยพงษ์ เศษคึมบง. (2022). การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาสู่ความปกติ ในสถานการณ์วิกฤติโควิด-19. วารสารรัชต์ภาค, 15(44), 1-12.

ธีรภัทร์ ถิ่นแสนดีและพวงเพชร นรทีทาน. (2564). การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ภายใต้สถานการณ์โรคอุบัติใหม่. วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์, 6(2), 101-107.

พรศิริ พันธสี. (2561). กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ: การประยุกต์ใช้ทางคลินิก.กรุงเทพ.พิมพ์อักษร.

พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, สุมิตตา สว่างทุกข์, มณีรัตน์ พราหมณี. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเสริมผ่านสื่อออนไลน์ เฟซบุ๊กกรุ๊ปวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ 2. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 38(1), 97-106.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์, สุมน อมรวิวัฒน์, ทิศนา แขมมณี, สิริภักตร์ ศิริโท, ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ, อุทัย ดุลยเกษม, พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพรรณี เกษกมล. (2558). ศาสตร์การคิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

มาลินี บุญเกิด. (2565). การใช้คลาวด์เทคโนโลยีในการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการด้านการศึกษา ระดับชาติ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : Design and Implementation for the future in education . กรุงเทพ. ค้นจาก http://swuice.edu.swu.ac.th/wp-ntent/uploads/2022/05/Proceeding_Thai-2565-COMPLETE-edit-9-5-65.pdf

รัชณีวัลย์ อัครวิกรัย. (2563). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่บูรณาการเทคโนโลยีเสมือนผสานโลกจริงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาสำหรับนักศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

วนัสนันท์ ชูรัตน์. (2564). การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ร่วมกับอินโฟกราฟิกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่องกรด-เบส. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิทยา วาโย, อภิรดี เจริญนุกูล, ฉัตรสุดา กานกายันต์, จรรยา คนใหญ. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาด ของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 14(34), 285-298.

วีซานา อับดุลเลาะและวุฒิชัย เนียมเทศ. (2563). การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 “แนวคิด ทฤษฎี และแนวทางปฏิบัติ”.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7(2), 227-246.

ภาสินี โทอินทร์, สิริอร ข้อยุ่นและทัศนีย์ ทิพย์สูงเนิน. (2564). การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาทางการพยาบาล. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. 11(1); 1-12.

ศิริพร สว่างจิตร, กุสุมา กังหลีและนันทิกานต์ กลิ่นเชตุ. (2562). ผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบกระบวนการกลุ่มผ่านการสะท้อนคิด เพื่อเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(3), 333-342.

ศรัญญา จุฬารี,สันติ วิจักขณาลัญฉ์ และไพศาล สุวรรณน้อย. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมเชาวน์ปัญญาแห่งความสำเร็จ ในการวางแผนแก้ปัญหาทางการพยาบาล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 38(3), 114-125.

สุขสุดา ขุนราช. (2559). การศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติงในวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดย่อม. (SMEs). การค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุจิรา วิเชียรรัตน์, ศิริพร ครุฑกาศ, นงณภัทร รุ่งเนย, วลีรัตน์ แตรตุลาการและแสงเดือน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา. (2561). การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะการแก้ปัญหาทางการพยาบาลของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ. 24(2); 97-107.

โสภา รักษาธรรมและสุภาพร วรรณสันทัด. (2563). ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษาเป็นฐานผ่านชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพต่อทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล. 36(3); 220-232.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด: กรุงเทพ.

อรนันท์ หาญยุทธ. (2557). กระบวนการพยาบาลและการนำไปใช้.วารสารพยาบาลทหารบก. 15(3). 137-143.

อำพล พาจรทิศ มนตรี แย้มกสิกร และทิพย์เกสร บุญอำไพ. (2559). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11(2), 329-408.

เทพยพงษ์ เศษคึมบง. (2565). การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาสู่ความปกติในสถานการณ์วิกฤติโควิด-19. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(44), 1-12.

พวงเพชร นรทีทาน และธีรภัทร์ ถิ่นแสนดี. (2564). การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ภายใต้สถานการณ์ โรคอุบัติใหม่. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 3(2), 84-91.

Alfaro-LeFevre, R. (2013). Critical thinking and clinical judgment: A practical approach to outcome-focused thinking (5th ed). Philadelphia, PA: W. B. Saunders Elsevier.

Dewey, J. (1933). How We Think: A Restatement of the Relation of Reflective Thinking to the Educative Process. Boston, MA: D.C. Heath & Co Publishers.

Dhawan, S., (2020). Online learning: a panacea in the time of COVID-19 crisis. Journal Education Technology System, 49(1), 5–22.

Ertmer, P. A., & Russell, J. D. (1995). Using case studies to enhance instructional design. Educational Technology, 35(4), 23–31.

Gagne, R.M. (1977) The conditions of learning. 3rd Edition, Holt, Rinehart, and Winston, New York.

Graham, C. R., Allen. S. & Ure. E. (2003). Blended Learning Environments: A Review ofthe Research Literature. Unpublished Manuscript, Provo, UT.

Hammad, B. M., & Khalaf, I. A. (2020). How Does Case-Based Learning Strategy Influence Nursing Students’ Clinical Decision-Making Ability in Critical Care Nursing Education? An Integrative Review. Middle East Journal of Nursing, 14(3), 3-8.

Johnson, M. M., Davis, M. L., & Lawbaugh, A. M. (1980). Problem solving in nursing practice. 3th ed. USA: WM. C. Brown.

Isna T., Sarwanto & Sukarmin, (2021). Development of sscs learning model to improve critical thinking and problem solving skill. Physical and Education Journal, 58(4),1125-1134.

Koehler , A. A., Fiock, H., Janakiraman, S., Cheng, Z., & Wang, H. (2020). Asynchronous Online Discussions during Case-Based Learning: A Problem-Solving Process. Online Learning, 24(4), 64–92.

Mayer, R. E. (1998). Cognitive, Metacognitive, and Motivational Aspects of Problem Solving. Instructional Science, 26(1-2), 49-63.

McLean, S. (2016). Case-based learning and its application in medical and health-care fields:A review of worldwide literature. Journal of Medical Education and Curricular Development. 3, 39-49.

McNamara, C. (1999). Basic guidelines to problem solving and decision making. Available HTTP: http//www.authenticityconsulting.com

Ministry of Education. (2018). Notification of Ministry of Education on the Standards of Bachelor Degree in Nursing Science Program.

Potter, P. A., Perry, A. G., Stocker, P., & Hall, A. (2013). Fundamentals of Nursing .(8th ed.) St Louis: Saunder Elsevier.

Rahman, M. (2019). 21 St Century Skill Problem Solving: Defining the Concept. Asian Journal of Interdisciplinary Research, 2(1), pp. 71–81.

Rowles, C. J. & Brigham, C. G. (2005). Strategies to promote critical thinking and active learning. In D. M.

Shulman, L. S. (1992). Research on teaching: A historical & Personal perspective. In F. Oser, A. Dick, & J. Party(Eds.), Effective and responsible teaching: The new synthesis. San Francisco: Jossey-Bass.

Treffinger, D. H., & Isaksen, S.G. (2005). Creative Problem Solving: The history, Development, And Implications for Gifted Education and Talent Development. Retrieved from http://www.cpsb. com/research/articles/creative-problem-solving/Creative-Problem-Solving-Gifted-Education. pdf.

Williams B. (2005). Case-based learning a review of the literature: Is there scope for this educational paradigm in pre-hospital education. Journal of Emergency Medicine. (22); 577-81.

Yoo M., Park J. (2014). Effect of case-based learning on the development of graduate nurses' problem-solving ability. Nurse Education Today. 34(1); 47-51.

Yoo M., Park J. (2015). Effects of case-based learning on communication skills, problem-solving ability, and learning motivation in nursing students: Case-based learning on nursing education. Nursing & health sciences, 17(2).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-17