ผลของโปรแกรมการให้ความรู้แบบ D-METHOD ต่อความรู้ และความเครียดของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด

ผู้แต่ง

  • ขวัญธิดา นันทะ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ
  • ธัญวลัย บุญเกิด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ

คำสำคัญ:

แอพพลิเคชั่น, การให้ทันตสุขศึกษา, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ความรู้แบบD-METHODต่อความรู้และความเครียดของหญิงตั้งครรภ์ที่มี ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อกลุ่มตัวอย่างจำนวน36คนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดหรืออายุครรภ์ 24-36+6สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการให้ความรู้แบบD-METHOD วัดผลของโปรแกรมโดย 1) ระดับความรู้และความเครียดเกี่ยวกับป้องกัการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด 2) อุบัติการณ์การกลับมารักษาซ้ำ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติ Paired sample t-test และสถิติ Wilcoxon Sign Rang Test

ผลการวิจัยพบว่าหลังใช้โปรแกรม ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด แผนกห้องคลอด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย มีความรู้เพิ่มขึ้น และมีและระดับความเครียดลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001)

References

จันทร์จีรา กลมมา, ฉวี เบาทรวง และนันทพร แสนศิริพันธ์. (2017). ผลของการสนับสนุนทางสังคมต่อความเครียดของสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. Nursing Journal, 44(3), 9-18.

จิราภรณ์ เพิ่มพูล. (2004). พฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพของหญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์จังหวัดกาญจนบุรี. (Doctoral dissertation, มหาวิทยาลัย ศิลปากร).

ชฎารัตน์ แก้วเวียงเดช และคณะ. (2021). การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายหญิงตั้งครรภ์ที่มี ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดโรงพยาบาลอำนาจเจริญ. JOURNAL OF ALLIED HEALTH SCIENCES SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY, 6(1), 77-89.

ชาลินี เจริญสุข, สุพิศศิริ อรุณรัตน์ และตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี. (2019). ผลของการสนับสนุนในระยะคลอดโดยญาติผู้หญิงต่อความทุกข์ทรมานจากการเจ็บครรภ์คลอดการเผชิญการเจ็บครรภ์คลอดและความพึงพอใจต่อประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(2), 67-75.

นวรัตน์ ไวชมภู และอาภรณ์ คงช่วย (2015). การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายหญิงตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 2(3), 114-128.

พรศิริ เสนธิริ และคณะ. (2017). การพัฒนารูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิต สูงระหว่างตั้งครรภ์.วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์, 32(2), 117-128.

มาณีจันทร์ โสภา, ฉวี เบาทรวง และสุกัญญา ปริสัญญกุล. (2012). ผลของการสนับสนุนทางสังคมต่อความ เจ็บปวดในการคลอดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดวัยรุ่นครรภ์แรก. Nursing Journal, 39(4), 71-84.

สุพัตรา ปิ่นแก้ว, เอมพรรติ นธร, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร และวิบูลย์เรือง ชัยนิคม. (2014). ผลของ โปรแกรมการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดต่ออัตราการเกิดภาวะเจ็บครรภ์ คลอดก่อนกำหนด. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(4), 58-71.

สุรีพร กัฬหะสุต, พนิดา เชียงอง, สุรัชนาพงษ์ ปรสุวรรณ์, นุชมาศ แก้วกุลฑล และศุจิรัตน์ ศรีทองเหลือง. (2022). ผลของโปรแกรมลดสิ่งก่อความเครียดร่วมกับการสนับสนุนทางสังคมต่อความเครียดและอายุครรภ์เมื่อคลอดของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลวารสารศูนย์อนามัยที่ 9. วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 16(1), 59-74.

Kongroad, S., & Chirit, C. (2020). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาแบบใหม่ต่อความรู้ทัศนคติและการปฏิบัติของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดโรงพยาบาลกันตัง จังหวัดตรัง. Journal of Health Science-วารสาร วิชาการ สาธารณสุข, 29(6), 1055-1061.

Jaru, A., Chatchawet, W., & Kritcharoen, S. (2019). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบความสำเร็จในการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. Songklanagarind Journal of Nursing, 39(1), 79-92.

Lahukarn, B., Suwanpakdee, W., Noonart, T., & Buddum, M. (2020). ความเครียดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. Journal of MCU Nakhondhat, 7(10), 1-14.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-27