การพัฒนาแนวทางปฏิบัติการบริการพยาบาลส่งเสริมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรายใหม่ คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรงพยาบาลน้ำโสม
คำสำคัญ:
การจัดการตนเอง, ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรายใหม่, คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยการพัฒนาแนวทางปฏิบัติการบริการพยาบาลส่งเสริมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลลัพธ์ของแนวทางปฏิบัติการบริการพยาบาล ฯ ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรายใหม่ ในทะเบียนผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีความรุนแรงของโรคระดับรุนแรงน้อยถึงรุนแรงมาก ที่มารับบริการที่ตรวจรักษาที่คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ระหว่างเดือนมกราคม 2564 - มิถุนายน 2564 จำนวน 15 คน เก็บข้อมูลจากแบบบันทึกแบบวัดความรู้ และแบบประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา เปรียบเทียบคะแนนความรู้เกี่ยวกับการจัดการตนเองจากการประเมินสถานะสุขภาพของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังรายใหม่เพื่อประเมิณความเสี่ยงต่อการกำเริบเฉียบพลันในอนาคตด้วย COPD Assessment Test (CAT) และหลังเข้ารับบริการพยาบาลตามแนวทางปฏิบัติการบริการพยาบาล ฯ โดยใช้สถิติ Paired t-test โดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < 0.001
ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการเข้ารับบริการพยาบาลจตามแนวทางปฏิบัติการบริการพยาบาล ฯ พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการจัดการตนเองเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการใช้โปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Mean 3.00 S.D. 0.32 vs Mean 5.65 S.D. 0.67; p < 0.001) และมีคะแนนเฉลี่ยสถานะสุขภาพ (COPD Assessment Test Score) มากกว่าก่อนการเข้ารับบริการพยาบาลตามแนวทางปฏิบัติการบริการพยาบาล ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Mean 20.83 S.D. 3.41 vs Mean 19.33 S.D. 3.73; p < 0.001)
References
Barbara W, Joseph D, Terry S, Cecily D. Pharmacotherapy handbook. 9th ed. New York]: McGraw-Hill Education; 2014.
World Health Organization. Chronic obstructive pulmonary disease (COPD) [Internet]. [cited 2022 Apr 18]. Available from: http://www.emro.who.int/health-topics/chronic-obstructive-pulmonary-disease-copd/index.html
Mathers CDD, Loncar D. Projections of global mortality and burden of disease from 2002 to 2030. PLoS Med. 2006 ;3(11) : e442.
Service Plan COPD. Guideline for the management of chronic obstructive pulmonary disease (COPD). Phayao: Phayao Provincial Public Health Office in collaboration with Phayao Hospital; 2020.
Wangsom A. Dyspnea management in patients with chronic obstructive pulmonary disease. Thai Journal of Cardio-Thoracic Nursing 2016; 27: 2-12.
Setanunt P. Nursing in Acute Attacked Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD) Patients : A Case study on Kudchum Hospital Yasothon province. Yasothon Medical Journals 2013; 15: 114-22.
Disler RT, Gallagher RD, Davidson PM. Factors influencing self-management in chronic obstructive pulmonary disease: an integrative review. Int J Nurse Stud 2012; 49: 230-42.
Global Initiative for Chronic Obstructive Lung Disease. Global strategy for the diagnosis, management and prevention of chronic obstructive pulmonary disease.Updated 2008. http://www.goldcopd.com/Aocessed Jan 11, 2022; 2006.
วัชรา บุญสวัสดิ์. เอกสารการประชุม Easy COPD Clinic Workshop. วันที่ 16 มีนาคม 2554 ; ณ โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์; 2554.
กรวรรณ จันทพิมพะ. ผลของโปรแกรมการบำบัดทางการพยาบาลต่อสมรรถนะทางกายและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2550.
ชัยเวช นุชประยูร. โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ยูนิตี้ พับลิเคชั่น; 2542.
นันทพร พิชะยะ. ผลของการดูแลสุขภาพที่บ้านโดยการให้คำปรึกษาทางสุขภาพต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต] ชลบุรีมหาวิทยาลัยบูรพา; 2546.
ไพจิตร์ วราชิต. พบ 5 โรคเรื้อรังคุกคามคนไทย. เอินเทอร์เน็ต/ 2553 เข้าถึงเมื่อ 20กุมภาพันธ์ 2563] เข้าถึงได้จาก:http://www.thaihealth.or.th
Lenferink A, Brusse-Keizer M, van der Valk PD, Frith PA, Zwerink M, Monninkhof EM, et al. Self-management interventions including action plans for exacerbations versus usual care in patients with chronic obstructive pulmonary disease. Cochrane Database Syst Rev 2017; 8: Cd011682.
Zwerink M, Brusse-Keizer M, van der Valk PD, Zielhuis GA, Monninkhof EM, van der Palen J, et al. Self management for patients with chronic obstructive pulmonary disease. Cochrane Database Syst Rev 2014: Cd002990.
Disler RT, Gallagher RD, Davidson PM. Factors influencing self-management in chronic obstructive pulmonary disease: an integrative review. Int J Nurs Stud 2012; 49: 230-42.
Bourbeau J, van der Palen J. Promoting effective self-management programmes to improve COPD. Eur Respir J 2009; 33: 461-3.
Effing T, Monninkhof EM, van der Valk PD, van der Palen J, van Herwaarden CL, Partidge MR, et al. Self-management education for patients with chronic obstructive pulmonary disease. Cochrane Database Syst Rev 2007: Cd002990.
Thangkratok P. The Role of the Nurse in the Chronic Disease Management. Songklanagarind Journal of Nursing 2017; 37: 154-9.
Riegel B, Carlson B, Glaser D. Development and testing of a clinical tool measuring self-management of heart failure. Heart Lung 2000; 29: 4-15.
Williams MT, Effing TW, Paquet C, Gibbs CA, Lewthwaite H, Li LSK, et al. Counseling for health behavior change in people with COPD: systematic review. Int J Chron Obstruct Pulmon Dis 2017; 12: 2165-78.
Pothirat C, Kiatboonsri S, Chuchottaworn C. Validation of the new COPD assessment test translated into Thai in patients.
Cabral LF, D'Elia Tda C, Marins Dde S, Zin WA, Guimaraes FS. Pursed lip breathing improves exercise tolerance in COPD: a randomized crossover study. Eur J Phys Rehabil Med 2015; 51: 79-88.
Khoshkesht S, Zakerimoghadam M, Ghiyasvandian S, Kazemnejad A, Hashemian M. The effect of home-based pulmonary rehabilitation on self-efficacy in chronic obstructive pulmonary disease patients. J Pak Med Assoc 2015; 65: 1041-6.