ผลการจัดการความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่1 โรงพยาบาลท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
คำสำคัญ:
การจัดการความเจ็บปวดโรงพยาบาลท่าอุเทน, การคลอดบทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่ 1โรงพยาบาลท่าอุเทน จังหวัดนครพนม และ 2) ศึกษาความพึงพอใจในการจัดการความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่ 1 โรงพยาบาลท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการจัดการกับความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่ 1 และแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดการความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่ 0 มีค่าความเชื่อมั่น 1.0 และ 68.85 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบระดับความเจ็บปวดระหว่างกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองด้วยการทดสอบ independent t-test
ผลการวิจัย พบว่า คะแนนความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่ 1ของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุม โดยกลุ่มทดลองอยู่ในระดับปวดรุนแรงค่าเฉลี่ย) =6 .20, S.D. = 1.10) กลุ่มควบคุมอยู่ในระดับปวดรุนแรงค่าเฉลี่ย) =9.37, S.D. =0.63) เมื่อเปรียบเทียบความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่ ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม พบว่าแตกต่างกันอย่างมี 1. นัยสำคัญทางสถิติที่001 ผลการศึกษาความพึงพอใจในการจัดการความเจ็บปวดของการคลอดในระยะที่ 1 โรงพยาบาลท่าอุเทน จังหวัดนครพนม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก 4 ค่าเฉลี่ย).22, S.D. = 1.12)
References
Lowdermilk, D. L., & Perry, S. E. Maternity nursing (6th ed.). St. Louis: Mosby. 2006.
Reeder, S. J., & Matin, L. L. Maternity nursing: family, newborn, and women's healthcare (16th ed.). Philadelphia: Lippincott. 1987.
จตุพล ศรีสมบูรณ์, Painless Labor, ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2540.
Murray, S. S., & Mckinney, E. S., Foundations of maternal newborn nursing (4th ed). St. Louis,Missouri: Saunders Elsevier, 2006.
Lowdermilk, D. L., & Perry, S. E., Maternity nursing (6th ed.)., St. Louis: Mosby, 2006.
Dick-Read, G., Childbirth without fear: The original approach to natural Childbirth, New York:Harper & Row, 1984.
Lang, A. J., Sorrell, J. T., Rodgers, C. S., & Lebeck, M. M., Anxiety sensitivity as a predictor of labor pain. European Journal of Pain, 10, 263-270, 2006.
Hauck, Y., Fenwick, J., Downie, J., & Butt, J., The influence of childbirth expectations on Western Australian women’s perceptions of their birth experience. Midwifery, 23, 235-247, 2007.
Borquez, H. A., & Wieger, T. A., A comparison of labor and birth experience of women delivering in a birthing centre and at home in the Netherlands. Midwifery, 22, 339-347, 2006.
Chang, M. Y., Wang, S. Y., & Chen, C. H., Effects of massage on pain and anxiety during labor:
สุวรรณี นาคะ, จิตติมา ธาราพันธ์, วิไลรักษ์ อุยานันท์, และ รัชกร เทียมเท่าเกิด., ผลของการใช้เทคนิคการลูบหน้าท้อง ต่อความวิตกกังวล การเผชิงความเจ็บปวด และระยะเวลาในการคลอดของผู้คลอดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี, วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 27(4), 57-65, 2547.
รัชนันต์ ถิรรดา, ผลของโปรแกรมการเตรียมคลอดต่อความรู้เกี่ยวกับการคลอด พฤติกรรมการเผชิงความเจ็บปวดในระยะคลอดและความพึงพอใจต่อการใช้บริการคลอดของมารดาครรภ์แรก.วารสารคณะพยาบาลศาสตร์, 13(3), 10-22, 2548.
Pearson, A., Field, J., & Jordan, Z., Evidence-based clinical practice in nursing and health care.Oxford: Blackwell Publishing, 2007.
หน่วยงานห้องคลอดโรงพยาบาลท่าอุเทน, จังหวัดนครพนม, 2888
National Health and Medical Research Council., A guide to the development, implementation and evaluation of the clinical practice guidelines. 1999, Retrieved September 23, 2023, from http://www.csp:nsw.gov.au/nhmrc/downloads/ pdfs/NHMRC Clinical practice.pdf
จุฑามาศ บุพสุวรรณ์, การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกส าหรับการจัดการกับความเจ็บปวดในผู้คลอดปกติ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี, การค้นคว้าแบบอิสระพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการผดุงครรภ์ขั้นสูง, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551.
ฉวีวรรณ ธงชัย, การประเมินคุณภาพแนวปฏิบัติทางคลินิก, 2547. Retrieved September 23, 2023, from http://www.Agreetrust.org/docs/AGREE_Instrument_translation/AGREE_Instrument_Thai.pdf
ฉวีวรรณ ธงชัย, และพิกุลนันท ชัยพันธ์. แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้แนวปฏิบัติ.เชียงใหม่:คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2547.
ทัศนีย์ ศรีสุวรรณ, ผลของโปรแกรมการสนับสนุนการคลอดอย่างต่อเนื่องต่อความเจ็บปวด และผลลัพธ์ของการคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก โรงพยาบาลลำพูน. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา 8(3), 238, 2888.
ฉวีวรรณ ธงชัย, การประเมินคุณภาพแนวปฏิบัติทางคลินิก, 2547. Retrieved September 23, 2023, from http://www.Agreetrust.org/docs/AGREE_Instrument_translation/AGREE_Instrument_Thai.pdf