การบริหารจัดการทางการพยาบาลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก

ผู้แต่ง

  • ปิยวรรณ วัดพ่วงแก้ว ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์
  • ญาณิภา แก้วลำหัด ศูนย์การแพทย์มหิดลบำรุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์

คำสำคัญ:

กระดูกสะโพกหัก, การจัดการทางการพยาบาล, ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก

บทคัดย่อ

     การศึกษานี้เป็นกรณีศึกษาโดยรวบรวมข้อมูลจากงานวิจัย บทความวิชาการ และรายงานทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและการรักษาผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก ตลอดจนแนวทางการบริหารจัดการทางการพยาบาล ขอบเขตของการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะก่อนผ่าตัด ระยะหลังผ่าตัด และระยะดูแลต่อเนื่อง เก็บข้อมูลจากเวชระเบียนและวิเคราะห์โดยการพรรณนา
     โดยอาศัยการรักษาที่ทันท่วงทีและการบริหารจัดการทางการพยาบาลที่เหมาะสมในผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้แบ่งออกเป็น 3 ระยะ 1) ระยะก่อนผ่าตัด ให้ความสำคัญกับการพยาบาลการลดปวด ป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการเตรียมตัวก่อนผ่าตัด 2) ระยะหลังผ่าตัด เป็นการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด การจัดการความปวด การป้องกันกระดูกสะโพกเลื่อนหลุด และการวางแผนจำหน่าย และ 3) ระยะดูแลต่อเนื่อง เป็นการพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดได้ถูกต้อง มีทักษะในการฟื้นฟูข้อสะโพก โดยอาศัยความรู้และการจัดการทางการพยาบาลที่ทันสมัยประยุกต์ในการดูแลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกอย่างมีประสิทธิภาพ

References

Cheng SY, Levy AR, Lefaivre KA, Guy P, Kuramoto L, Sobolev B. Geographic trends in incidence of hip fractures: A comprehensive literature review. Osteoporos Int. 2011;22(10):2575–2586.

Brauer CA, Coca-Perraillon M, Cutler DM, Rosen AB. Incidence and mortality of hip fractures in the United States. JAMA. 2009;302(14):1573–1579.

Phadungkiat S, Chariyalertsak S, Rajatanavin R, Chiengthong K, Suriyawongpaisal P, Woratanarat P. Incidence of hip fracture in Chiang Mai. J Med Assoc Thai. 2002;85(5):565–571.

บุญนำ พัฒนแก้ว. ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ดูแลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ที่ถูกจำกัดเคลื่อนไหว. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร. 2564;4(2):53–62.

Wilarat W. Fracture of Femur. [Internet]. 2019. [cited 1 Sep 2567]. Available from: http://ortho.md.chula.ac.th

ประเสริฐ อัสสันตชัย. ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน. กรุงเทพฯ: ยูเนี่ยนครีเอชั่น; 2552.

ศิริวรรณ พรหมสาขา ณ สกลนคร. การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม: กรณีศึกษาเปรียบเทียบ. สกลนคร: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด; 2567.

สมปรารถนา คลังบุญครอง. การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักและมีโรคร่วมที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2564;18(1):154–163.

ศุภพร ศรีพิมาน, ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา, ชุติวรรณ ปุรินทราภิบาล. ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเอง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. 2563;3(2):149–165.

Conn KS, Clarke MT, Hallett JP. A simple guide to determine the magnification of radiographs. J Bone Joint Surg Br. 2002;84(2):269–272.

จิณพิชญ์ชา มะมม. การพยาบาลผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2562.

สุชีลา จันทร์วิทยานุชิต. The challenging treatment in osteoporosis patient. In: การประชุมวิชาการสมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย; 2554. p. 19–21.

ยุพิน นามผา. ผลของโปรแกรมวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม. สกลนคร: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด; 2567.

Gullberg B, Johnell O, Kanis JA. World-wide projections for hip fracture. Osteoporos Int. 1997;7:407–413.

มลฤดี เพ็ชร์ลมุล, สุภาพ อารีเอื้อ. การชะลอการผ่าตัดในผู้ป่วยสูงอายุที่กระดูกสะโพกหัก. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2552;15(2):233–248.

Poh KS, Lingaraj K. Complications and their risk factors following hip fracture surgery. J Orthop Surg (Hong Kong). 2013;21(2):154–157.

โสภิต เลาหภักดี. การพยาบาลผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมและมีโรคร่วม. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. 2563;3(2):224–240.

อรทัย สิริวัฒนพงษ์. ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้สูงอายุกระดูกสะโพกหัก. วารสารวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ. 2566;4(2):69–79.

นรเทพ กุลโชติ. กระดูกหักและข้อเคลื่อนหลุดรอบข้อสะโพก. กรุงเทพฯ; 2558.

พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2544.

Potter PA, Perry AG. Fundamental of Nursing. 6th ed. St. Louis: Mosby; 2005.

ภารดี ชาวนรินทร์, สมฤดี กีรตวนิชเสถียร, มยุรี กมลบุตร, ปราชญา ศุภฤกษ์โยธิน. ซอฟต์สกิล: ทักษะที่จำเป็นสำหรับวิชาชีพพยาบาล. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ. 2565;9(1):1–17.

Bloom BS. Mastery learning. Evaluation Comment. 1968;1(2):1–12.

ลัดดาวัลย์ ทองเกลี้ยง. ผลการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพยุค 4.0. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ. 2564;4(2):54–64.

ชลธิชา โภชนกิจ, เกษตรชัย และหีม, ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา. การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะของพยาบาล. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2562;39(3):137–149.

ภารดี ชาวนรินทร์, ชวนชม ชินะตังกูร, กมลมาลย์ ไชยศิริธัญญา. ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21. วารสารวิจัยวิชาการ. 2565;5(1):113–128.

มณีรัตน์ ภาคธูป, อุไร ขลุ่ยนาค. การคิดวิจารณญาณในงานพยาบาล. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. 2561;11(2):1–12.

เอื้องพร พิทักษ์สังข์, เจียมรัตน์ โพธิ์เย็น, จันทนา นามเทพ, et al. ทักษะดิจิทัลของพยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล. 2566;38(2):38–48.

พรธิดา ชื่นบาน, ธนาวรรณ แสนปัญญา, ทิพากร กระเสาร์. การพยาบาลผู้สูงอายุกระดูกสะโพกหัก. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2564;31(3):70–84.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-31

How to Cite

วัดพ่วงแก้ว ป., & แก้วลำหัด ญ. (2024). การบริหารจัดการทางการพยาบาลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(5), 986–991. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/3554