การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อคจากการติดเชื้อในกระแสเลือดในงานอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช : กรณีศึกษาเปรียบเทียบผู้ป่วย 2 ราย

ผู้แต่ง

  • วานิช ศรีสุข พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลห้วยผึ้ง

คำสำคัญ:

ภาวะช็อค, ติดเชื้อในกระแสเลือด, การพยาบาล

บทคัดย่อ

     การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด(Sepsis) เป็นการศึกษาเปรียบเทียบผู้ป่วย 2 ราย ที่เกิดภาวะช็อคจากการติดเชื้อ รายที่ 1 แพทย์วินิจฉัย Pneumonia with sepsis with chronic kidney stage 2 with liver metastasis รายที่ 2 แพทย์วินิจฉัย Abscess right bottom with sepsis with acute kidney injury with acidosis
     ผลการศึกษา พบว่า ทั้ง 2 รายได้รับการปฏิบัติตาม Sepsis guideline และการรักษาพยาบาลในระยะ 6 ชั่วโมงแรก บรรลุเป้าหมายปัจจัยหนึ่งที่จะทำให้บรรลุผลลัพธ์ของการรักษาพยาบาลผู้ป่วย Sepsis ในระยะ 6 ชั่วโมงแรก คือ Competency ของพยาบาลในการประเมิน ติดตามและเฝ้าระวัง จึงควรเน้นให้พยาบาลตระหนักถึงความสำคัญของการพยาบาลที่สอดคล้องกับการรักษาแบบมุ่งเป้าใน 6 ชั่วโมงแรก เนื่องจากจะช่วยชะลอการล้มเหลวของอวัยวะสำคัญและช่วยให้ผู้ป่วยรอดชีวิตได้

References

ฑิตยา วาระนัง. (2562). ผลลัพธ์ของการใช้แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต โรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงรายเวชสาร. 11(1/2562). 1-8.

ทิฏฐิ ศรีวิชัย และวิมล อ่อนเส็ง. (2560). ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ: ความท้าทายของพยาบาลฉุกเฉิน.วารสารวิทยาลัยบรมราชชนนีอุตรดิตถ์. 9(2) : 152-162.

นนทรัตน์ จำเริญวงศ์. (2563). การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อใน กระแสเลือด. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้.7(1) : 319-330.

นฤมล ฮามพิทักษ์. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อ : กรณีศึกษา 2 ราย โรงพยาบาลขอนแก่น. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา, 5(3). 79-87.

พัชรีย์ ไสยนิตย์. (2564) การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อคจากการติดเชื้อในกระแสเลือด : กรณีศึกษา โรงพยาบาลกาฬสินธุ์. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา, 6(3), 20-26.

วีรพงศ์ วัฒนาวนิช. (2566). ข้อมูลภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดขั้นรุนแรง. สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2567. จาก https://medinfo.psu.ac.th/nurse/CoP/Sepsis/sepsis_3.pdf.

สมพร รอดจินดา.(2563).การพัฒนาระบการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดโรงพยาบาลน่าน. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 31(1). 212-231.

แสงสม เพิ่มพูน. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตที่มีภาวะช็อก (Septic shock)โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม. 1071-1081.

สุภาคินี สุคนธนากูล. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อ : กรณีศึกษา 2 ราย. โรงพยาบาลบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น.วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา, 5(4). 201-206.

สมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย. (2558). การดูแลรักษาผู้ป่วย Severe Sepsis และ Septic Shock (ฉบับร่าง) แนวทางเวชปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สมาคมเวชบำบัดวิกฤติ.

อังคณาเกียรติมานะโรจน์.(2564).การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31

How to Cite

ศรีสุข ว. . . (2024). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อคจากการติดเชื้อในกระแสเลือดในงานอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช : กรณีศึกษาเปรียบเทียบผู้ป่วย 2 ราย. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(6), 91–98. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/3617