พฤติกรรมเนือยนิ่งปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผู้แต่ง

  • วันฉัตร โสฬส คณะสหเวชศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา

คำสำคัญ:

พฤติกรรมเนือยนิ่ง, โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, กิจกรรมทางกาย

บทคัดย่อ

        พฤติกรรมเนือยนิ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non- Communicable Diseases: NCDs) เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง ซึ่งการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอหรือการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งอย่างสม่ำเสมอเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยปัจจัยหลักเกิดจากการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเป็นระยะเวลานานก่อให้เกิดกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น ซึ่งการเพิ่มกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกายนั้น สามารถลดพฤติกรรมเนือยนิ่งและป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ โดยการมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573

กรุงเทพมหานคร.

โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2562).

มนุษย์ออฟฟิศ “นั่งนานเสี่ยงโรค”. https://www.hitap.net/17534.

จุรีพร คงประเสริฐ และธิดารัตน์ อภิญญา. (2558). คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

ธิติญาน ปรีชาเศรษฐ. (2561). พฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อการพัฒนาของโรคมะเร็ง.วารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 5(4), 1-15.

พรพิมล คชประเสริฐ.(ม.ป.ป.). กลุ่มโรคไม่ติดต่อ NCDs (Non-Communicable diseases).โรงพยาบาลสุขุมวิท. https://www.sukumvithospital.com/healthcontent.php?id=3729.

ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2563). 3 แนวทางลดพฤติกรรมเนือยนิ่งช่วงโควิด-19. https://tpak.or.th/.

ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2563). คู่มือกิจกรรมทางกายประจำบ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 1. สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่งจำกัด.

ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2563). ฟื้นกิจกรรมทางกายในประเทศไทยหลังวิกฤตโควิด-19. พิมพ์ครั้งที่ 2. บริษัท ภาพพิมพ์ จำกัด.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).(2563). จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย ปี 2563. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

https://www.thaihealth.or.th/?p=137300.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2564). จับตาทิศทางสุขภาพคนไทยปี 2564. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-31

How to Cite

โสฬส ว. (2022). พฤติกรรมเนือยนิ่งปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยนครราชสีมา, 1(2), 42–53. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/jhsnmc/article/view/351