ผลการใช้โปรแกรมยิมนาสติกศิลป์เพื่อส่งเสริมลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง ของนักเรียนในศูนย์การเรียน สังกัดศูนย์ประสานงาน การจัดการศึกษาเด็กต่างด้าว

ผู้แต่ง

  • ณัฐวุฒิ พิมพา มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

ลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง, โปรแกรมยิมนาสติกศิลป์, ศูนย์การเรียน

บทคัดย่อ

          การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้โปรแกรมยิมนาสติ กศิลป์เพื่อส่งเสริมลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง ด้านทักษะ ก่อนและหลัง  2)เพื่อเปรียบเทีย บผลของการใช้โปรแกรมยิมนาสติกศิลป์เพื่อส่งเสริมลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง ด้านพฤติ กรรมในการมีลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง  ก่อนและหลัง   กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนในศูนย์การเรียนรู้ซูแมคี (Thoo Mweh Kee) ศูนย์ประสานงานการจัดการศึกษา เด็ กต่างด้าว   สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 จำนวน 30 คน อายุ 7–12 ปี ระดับชั้นเรียน เกรด 1 –6  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นโปรแกรมยิมนาสติกศิลป์เพื่ อส่งเสริมลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง ของนักเรียนในศูนย์การเรียน  สังกัดศูนย์ประสานงาน การจัดการศึกษาเด็กต่างด้าว แบบทดสอบทักษะ และแบบวัดพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง วิเค ราะห์ข้อมูลโดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ   One Group Pretest-Posttest Design หาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้การทดสอบค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า  การเปรียบเทียบคะแนนด้านทักษะก่อนทดลองและหลังทดลองการโปรแกร มยิมนาสติกศิลป์เพื่อส่งเสริมลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง   ของนักเรียนในศูนย์การเรียนสัง กัดศูนย์ประสานงานการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าว   พบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการทดลองมีค่าเท่ากับ 10.27 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 2.68 และคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองมีค่าเท่ากับ 25.17 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 1.84 จึงสรุปได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแ นนด้านทักษะหลังการทดลองสูงกว่า ก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0 1   และการเปรียบเทียบคะแนนด้านพฤติกรรมการใช้เวลาว่างก่อนทดลองและหลังทดลองการโปรแกรมยิมนาสติกศิลป์เพื่อส่งเสริมลีลาชีวิตด้านการใช้เวลาว่าง  ของนักเรียนในศูนย์การเรียนสังกัดศูนย์ประสานงานการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าว พบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการท ดลองมีค่าเท่ากับ 32.56 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 17.02 และคะแนนเฉลี่ยหลังก ารทดลองมีค่าเท่ากับ 75.17 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 8.32  จึงสรุปได้ว่ากลุ่มตัว อย่างมีคะแนนด้านพฤติกรรมหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ ทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01

References

คำรณ มาลาค า. (2546). การใช้เวลาว่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตวิภาวดี สังกัด กรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการนันทนาการ บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธัญญารัตน์ วงษ์สมัย. (2542). การใช้เวลาว่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจังหวัดสระบุรี. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย. (2554). การนันทนาการ. ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ.

ประพัฒน์ ลักษณพิสุทธิ์. (2546). นันทนาการเพื่อกลุ่มบุคคลพิเศษ. โครงการพัฒนารายวิชาเพื่อการเรียนการสอน สำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

ป้องกันจังหวัดตาก. (2558). รายงานสถานการณ์พื้นที่พักพิงชั่วคราวจังหวัดตาก. ฉบับบทสรุปผู้บริหาร, กระทรวงมหาดไทย. ตาก.

พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร. (2545). กลุ่มผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่า: ตัวอย่างของมาตรการขจัดปัญหาคนไร้รัฐที่ประเทศไทยใช้ในการจัดการปัญหาความไร้สัญชาติของชนกลุ่มน้อยจากประเทศพม่าที่กลมกลืนแล้วกับสังคมและวัฒนธรรมไทย. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.

พัชราภรณ์ ทัพมาลี. (2558). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เวลาว่างของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภูฟ้า เสวกพันธ์. (2560). การพัฒนาหลักสูตรพลศึกษาและนันทนาการตามแนวคิดการศึกษาแบบเรียนร่วมเพื่อส่งเสริมลีลาชีวิตผู้พลัดถิ่น ในศูนย์การเรียน สังกัดศูนย์ประสานงานการจัดการศึกษาเด็กต่างด้าว. มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก.

รอด บินหมัดหนี. การใช้เวลาว่างของพนักงานบริษัทหลักทรัพย์. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการนันทนาการ บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2548). รวมบทความเกี่ยวกับปรัชญา หลักการ วิธีสอน และการวัดเพื่อประเมินผลทางพลศึกษา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2540). หลักการพลศึกษา. กรมวิชาการ. กรุงเทพฯ.

สมาคมกีฬายิมนาสติกแห่งประเทศไทย. (2559). คุณค่าและประโยชน์ของการเรียนยิมนาสติก. http://www.thaigymnastics.com/คุณค่าและประโยชน์ของกา/.

สมบัติ การญจนกิจ. (2535). นันทนาการชุมชนและโรงเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมบัติ กาญจนกิจ. (2542). นันทนาการชุมชนและโรงเรียน. ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

สุนารี จุลพันธ์. (2561). การใช้เวลาว่างกับรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. คณะอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

สุวิมล ตั้งสัจจพจน์. (2540). สาระน่ารู้เกี่ยวกับพลศึกษา และนันทนาการ. โชติสุขการพิมพ์. กรุงเทพฯ.

สุวิมล ตั้งสัจจพจน์. (2553). นันทนาการและการใช้เวลาว่าง. เอดิสันเพรสโพรดักส์ จ ากัด. กรุงเทพฯ.

สำนักงานขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2. (2558). ประสบการณ์การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ. รายงานประจำปี. ตาก.

อนงค์พรรณ์ ค าวัง.(2546). พฤติกรรมการเรียนและการใช้เวลาว่างของนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ า โรงเรียน

ศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

19-02-2023