ความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ จังหวัดเชียงราย
คำสำคัญ:
ความฉลาดทางอารมณ์, เด็กปฐมวัย, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การวิจัยนี้ เพื่อประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ประชากรเป้าหมายในการวิจัยคือเด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3 - 5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ จำนวน 38 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็กอายุ 3 - 5 ปี สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า เด็กปฐมวัยส่วนมากมีความฉลาดทางอารมณ์ระดับปกติ ร้อยละ 89.4 สูงกว่าปกติ ร้อยละ 5.3 และต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 5.3 ตามลำดับ ข้อมูลจากการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่งนี้ต่อไป
References
คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (2563). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ. http://www.dla.go.th/upload/template/tempNews/2020/4/57040_1.pdf.
วรนันท์ ศรียากร. (2562). จิตเวช : ความฉลาดทางอารมณ์. https://www.praram9.com/จิตเวช-ความฉลาดทางอารมณ์/.
สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต. (2559). แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ เด็กอายุ 3-5 ปี (ฉบับย่อ) สำหรับครู/ผู้ดูแลเด็ก. ใน “คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต” https://dmh-elibrary.org/items/show/306.
อรัญญา กุฎจอมศรี. (2557). การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ SMILE. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.