การขจัดทองแดงออกจากน้ำที่ปนเปื้อนด้วยการใช้ไบโอชาร์ที่เตรียมจากซังข้าวโพด

ผู้แต่ง

  • โยธิน กัลยาเลิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ชุมพร บุษบก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)

คำสำคัญ:

ถ่านไบโอชาร์, ทองแดง, การดูดซึม

บทคัดย่อ

        วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อขจัดไอออนทองแดงออกจากน้ำด้วยถ่านไบโอชาร์ ถ่านไปโอชาร์ถูกเตรียมด้วยกระบวนการไพโรไลซีสโดยใช้ซังข้าวโพดที่เผาที่อุณหภูมิ 850 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศที่มีออกซิเจนต่ำ ถ่านไบโอชาร์ที่ได้ถูกนำมาตรวจคุณลักษณะด้วย SEM , EDS  และ  XRD  ซึ่งพบว่า มีพลึกของแกร์ไฟต์และคาร์บอนเกิดขึ้นและมีรูพรุนอยู่ในช่วง 10 - 15 ไมโครเมตร  หลังจากนั้น ไบโอชาร์ถูกบดด้วยเครื่องบดแฮมเมอร์มิลและคัดแยกด้วยตะแกรงร่อนเป็น 3 ช่วง  (105-149, 149-177 และ 177-210 ไมโครเมตร)  และนำไปจุ่มลงในสารละลายทองแดง   5 - 60 นาที   เวลาในการดูดซับทองแดง  จนอิ่มตัวของผงไบโอชาร์ทุกขนาดเท่ากับ   15   นาที  อัตราการดูดซับสูงสุด คือ   0.8   มิลลิกรัมต่อกรัมนาที ด้วยขนาดอนุภาคที่อยู่ในช่วง 105-149 ไมโครเมตร

References

Ahmad, M., Rajapaksha, A.U., Lim, J.E., Zhang, M., Bolan, N., Mohan, D., Vithanage, M., Lee, S.S., Ok, Y.S., (2014). Biochar as a sorbent for contaminant management in soil and water: a review. Chemosphere 99, 19-33.

Beesley, L., Moreno-Jimenez, E., Gomez-Eyles, J.L., Harris, E., Robinson, B., Sizmur, T., (2011). A review of biochars' potential role in the remediation, revegetation and restoration of contaminated soils. Environ. Pollut. 159 (12), 3269-3282.

Dragan ES, Dinu MV. (2009). Removal of copper ions from aqueous solution by adsorption on ionic hybrids based on chitosan and clinoptilolite. Ion Exchange Letters;2: 15-8.

Gao, L.Y., Deng, J.H., Huang, G.F., Li, K., Cai, K.Z., Liu, Y., Huang, F., (2019). Relative distribution of Cd2+ adsorption mechanisms on biochars derived from rice straw and sewage sludge. Bioresour. Technol. 272, 114-122.

Jarup L. (2003). Hazards of heavy metal contamination. Br Med Bull; 68: 167-82.

Kumar M, Singh S, Mahajan RK. (2006). Trace level determination of u, zn, cd, pb and cu in drinking water samples. EnvironMonit Assess.112 (1-3): 283-92.

Olivares M, Pizarro F, Speisky H, et al. (1998). Copper in infant nutrition: safety of world health organization provisional guideline value for copper content of drinking water. J Pediatr Gastroenterol Nutr. 26(3) : 251-7.

Salmani M.H et al. ( 2012). Removing Copper from Contaminated Water Using Activated Carbon Sorbent by Continuous Flow. Journal of Health Researches. 1(1) : 11-18

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-04-2023