ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อความเสี่ยงภาวะสมาธิสั้นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่งในภาคเหนือตอนล่าง

ผู้แต่ง

  • กนกพร อิ่มขวัญ
  • ชลดา ด้วงบ้านยาง
  • ธนัช กนกเทศ

คำสำคัญ:

ความเสี่ยงโรคสมาธิสั้น, มัธยมศึกษาศึกษาตอนต้น, นักเรียน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสี่ยงภาวะสมาธิ
สั ้นนักเรียนชั ้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามความรับรู ้ของผู ้ปกครอง โดยทำการศึกษาในกลุ ่มตัวอย่างจาก
ผู้ปกครองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้
ในการเก็บข้อมูลการวิจัยครั ้งนี ้ คือ แบบสอบถามเกี ่ยวกับปัจจัยที ่ส่งผลต่อภาวะสมาธิสั ้นของนักเรียน
มัธยมศึกษาตอนต้น ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหา (Content Validity) ได้ค่า IOC= 0.89 และ
ตรวจสอบค่าความเชื ่อมั ่น ( Reliability) ด้วยค่า Kuder-Richardson 20 (KR-20) และ Cronbrach's
AIpha Coefficient อยู่ระหว่าง 0.81-0.93 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าแจกจางความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด
ค่าต่ำสุด ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐานและ ใช้วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ (Pearson product-moment
correlation coefficient) และ Eta (Eta Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเสี ่ยงภาวะสมาธิสั ้น ในระดับต่ำ ร้อยละ 65.70
และรองลงมา ระดับปานกลาง ร้อยละ 34.30 2) ตัวแปรที ่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะสมาธิสั ้นของนักเรียน
มัธยมศึกษาตอนต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อาชีพ การอาศัยอยู่กับบุคคล ระยะเวลาการ
ใช้สื่อ ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์ต่อภาวะสมาธิสั้นของนักเรียนมัธยมศึกษา
ตอนต้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05

References

เอกสารอ้างอิง

ขวัญจิต เพ็งแป้น. (2560). การป้องกันปัญหาภาวะสุขภาพของเด็กติดเกมออนไลน์. วารสารราชธานีนวัตกรรมทาง

วิทยาศาสตร สุขภาพ,1(1), 16-32.

บุรฉัตร ศักดิ์ศรีทวี, เอกรัฐ จันทร์วันเพ็ญและธารินทร์ เพ็ญวรรณ, 2562). การศึกษาเชิงวิเคราะห์ ตามขวางของ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อโรคสมาธิสั้นในเด็กวัยเรียน ผู้รับบริการ แผนกผู้ป่วยนอก คลินิกจิตเวชเด็ก โรงพยาบาล

สิชล. Region 11 Medical Journal, 33(2), 327-338.

ณกรณ์ วัฒสิทธินพคุณ ไกรสร อัมมวรรธน์ และ มนฤดี กีรติพรานนท์. (2556). ความสัมพันธ์ของ พฤติกรรมการ

เสพติดสมาร์ตโฟนกับภาวะสมาธิสั้นในประชากรเจเนอเรชันวาย. วารสารวิจัย ราชภัฎพระนครสาขาวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี, 18(2), 52

ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร, ธันวรุจน์ บูรณะสุขสกุล, ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์, และทรงภูมิ เบญญากร. (2557). คุณสมบัติ

ของแบบคัดกรองโรคสมาธิสั้นชื่อ Swanson, Nolan, and Pelham IV Scale (SNAP - IV) และ

Strengths and Difficulties Questionnaire ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง/สมาธิสั้น (SDQ -

ADHD) ฉบับภาษาไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่ง ประเทศไทย, 59(2), 97 - 110.

ธนศักดิ์ จันทศิลป์ มานิกา วิเศษสาธร และ ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะเสพ ติดเกม ภาวะ

ซึมเศร้า ภาวะสมาธิสั้น และภาวะย้ำคิดย้ำทำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายที่มีภาวะเสพติดเกม

ออนไลน์ พื้นที่กรุงเทพมหานคร. Rajapark Journal, 13(30), 279-291.

ธนิดา ทีปะปาล และคณะ. (2565). โรคสมาธิสั้นและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อปัญหาพฤติกรรมสมาธิสั้นในเด็กวัย

เรียน:การทบทวนวรรณกรรม. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ, 5(2), 30-41. https://he02.tci

thaijo.org/index.php/jhri/article/view/259880/177711

พีรนุช พันธุ์ภักดี. (2564). ปัจจัยทำนายความเสี่ยงโรคสมาธิสั้นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น

ตามการ

รับรู้ของผู้ปกครอง (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยานเรศวร).

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2565). รายงานผลการสํารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ

ไทย ปี 2565. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

Goleman, D. (1996). Emotional intelligence. Why it can matter more than IQ. Learning, 24(6), 49-50.

Rajanagarindra Institute of Child Development. (2017). Knowledge of ADHD and and the role of teachers in

caring for children with ADHD, Siampimnana: Chiangmai. (in Thai)

Sirirutraykha, T. (2022). Attention Deficit Hyperactivity Disorders. Retrieved October 8,2022, from

https://www.happyhomeclinic.com/sp03-adhd.htm

Sakboonyarat, B., Chokcharoensap, K., Sathuthum, N., Chutchawalanon, S., Khamkaen, C., Sookkaew, W., . . .

Rangsin, R. (2018). Prevalence and associated factors of attention deficit hyperactivity disorder (ADHD)

in a rural community, central Thailand: A mixed methods study. Global Journal of Health Science,

, 60. doi: 10.5539/gjhs.v10n3p60

Frank, Y. (2024). Attention deficit hyperactivity disorder. Pediatric behavioral neurology, 179-202.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

อิ่มขวัญ ก. ., ด้วงบ้านยาง ช. ., & กนกเทศ . ธ. (2024). ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อความเสี่ยงภาวะสมาธิสั้นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่งในภาคเหนือตอนล่าง . วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น, 5(4), 201–214. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3770