การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมจัดการตนเองและผลลัพธ์ ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีความดันโลหิตสูงร่วมด้วยของผู้สูงอายุตอนต้น

ผู้แต่ง

  • รัฏฐรินีย์ ธนเศรษฐ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา

คำสำคัญ:

เบาหวานชนิดที่ 2, ความดันโลหิตสูง, ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, พฤติกรรมการจัดการตนเอง

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความรอบรู้เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมจัดการตนเองและผลลัพธ์ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูงร่วมด้วย นำไปทดลองใช้ในคลินิกหมอครอบครัวที่คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ในการคัดเข้า จำนวน 60 คนแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและทดลองกลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ 1) โปรแกรมพัฒนาทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพ “ 5 ขั้นตอนพิชิตเบาหวานความดัน” ตามหลัก 4อ. 2ป. จำนวน 12 สัปดาห์ 2) แบบสอบถามความรอบรู้และพฤติกรรมการจัดการตนเองฯ  3) แนวปฏิบัติการปรับใช้ยาของโรงพยาบาลปักธงชัย โมเดล วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ใช้ paired t-test และ independent samples t-test ผลการศึกษาพบว่า ก่อนทดลองค่าเฉลี่ยคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการจัดการตนเอง ค่าเฉลี่ยความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัว ค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) หลังทดลองพบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) หลังติดตามจนครบ 1 ปี โดยให้รายงานผลการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง ส่งทางไลน์กลุ่มทุกสัปดาห์ เพื่อเป็นข้อมูลปรับลดยาได้ 23 คน (ร้อยละ 67.76)
เลิกยาได้ 6 คน (ร้อยละ20) การเพิ่มทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพในการจัดการตนเองตามหลัก 4อ. 2ป. เป็นกลวิธี ที่สำคัญให้ผู้สูงอายุและครอบครัวนำไปจัดการตนเองจนเกิดผลลัพธ์ที่ดี ควบคุมน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิตให้ปกติ ได้รับการปรับลดยาเข้าสู่ระยะโรคสงบ ลดค่าใช้จ่ายประเทศ ทีมสุขภาพสามารถนำรูปแบบฯ นี้ ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆและขยายต่อในพื้นที่อื่นต่อไป

References

Sinclair AJ, Abdelhafiz AH. Challenges and strategies for diabetes management in community-living older Adults. Diabetes spectrum: a publication of the American Diabetes Association 2020; 33(3):217-27.

Pavlou DI, Paschou SA, Anagnostis P, Spartalis M, Spartalis E, Vryonidou A, et al. Hypertension in patients with type 2 diabetes mellitus: Targets and management, Maturitas 2018;112,71-7

Akalu Y, Belsti Y. Hypertension and its associated factors among type 2 diabetes mellitus patients at debre tabor general hospital, Northwest Ethiopia. Diabetes Metab Syndr Obes 2020; 13:1621-31.

Vargas-Uricoechea H, Cáceres-Acosta MF. Control of Blood Pressure and Cardiovascular Outcomes in Type 2 Diabetes. Open Med (Wars). 2018;13:304-23.

อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์, ภาณุวัฒน์ คำวังสง่า, สุธิดา แก้วทา, บรรณาธิการ. รายงานสถานการณ์โรค NCDs.เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2563.

กุลพิมน เจริญดี, ณัฐกฤตา บริบูรณ์, อรรถกร บุตรชุมแสง, สุพิน รุ่งเรือง, บรรณาธิการ. รายงานประจำปี 2565

กองโรคไม่ติดต่อ. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2565.

ศุภโชค เวชภัณฑ์เภสัช, สุมัคเมธ มหาศริมงคล, ธิติภัทร คูหา, บรรณาธิการ. แผนการขับเคลื่อนการพัฒนา

ที่ยั่งยืนเป้าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันการมีสุขภาวะที่ดีส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคน. กรุงเทพฯ:

กองยุทธศาสตร์และเเผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2566.

วิชัย เอกพลากร, บรรณาธิการ. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 6 ประจำปี

พ.ศ. 2562-2563. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2564.

ศูนย์สารสนเทศ สำนักปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. รายงาน Health Data Center กระทรวงสาธารณสุขปี2560-2565 [อินเทอร์เน็ต].2565 [เข้าถึงเมื่อ 10 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https:

//hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php&cat_id=b2b59e64c4e6c92d4b1ec16a599d882b&id=df9a12ff1c86ab1b29b3e47118bcd535

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562. เชียงใหม่: ทริค ธิงค์; 2562.

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ และสมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับ

โรคเบาหวาน 2566. กรุงเทพ: ศรีเมืองการพิมพ์; 2566.

จินตนา อาจสันเที๊ยะ, รัชณีย์ ป้อมทอง. แนวโน้มการดูแลผู้สูงอายุในศตวรรษที่ 21: ความท้าทายในการ

พยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก. 2561;19(1):39-46.

วิมลรัตน์ บุญเสถียร, อรทัย เหรียญทิพยะสกุล. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: สถานการณ์และผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ.วารสารการพยาบาลและสุขภาพ สสอท. 2563;5(2):1-13.

ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: เข้าถึง เข้าใจและการนำไปใช้. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง

แอนด์พับลิชชิ่งจำกัด (มหาชน); 2561.

สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือกระบวนการ

สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ. กรุงเทพฯ: อาร์เอ็นพีพีวอเทอร์จำกัด;

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัย

สุขภาพ (พ.ศ.2560-2579). กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2560.

กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ประชาชนรอบรู้ สู้โรคไม่ติดต่อ. นนทบุรี: โรงพิมพ์

ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด; 2565.

ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: ขั้นพื้นฐาน ปฏิสัมพันธ์ วิจารณญาณ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์

พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด (มหาชน); 2562.

Osborne RH, Batterham RW, Elsworth GR, Hawkins M, Buchbinder R. The grounded psychometric development and initial validation of the health literacy questionnaire (HLQ). BMC Public Health 2013; 13, 1-17.

Kanfer FH, Gaelick–Bays L. Self management method. In F.H. Kanfer, & A. (Eds.).Helping people change: a textbook of methods New York: Pergamon press 1991; 305-60.

Creer LT. Self-management of chronic illness. In: Boekaerts M, Printrich PR, Zeidner M.(Eds.). Handbook of self-regulation. San Diego, California: Academic Press 2000.

Ryan P, Sawin KJ. The individual and family self-management theory: background and perspectives on context, process, and outcomes. Nursing Outlook 2009; 57: 217-25.

ปิ่นนเรศ กาศอุดม, ฆนรส อภิญญาลังกร, กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ, นิมัสตูรา แว. บทบาทครอบครัวในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 2561;5(3),300-10.

ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. K-shape 5 ทักษะเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ. วารสารสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา. 2563; 35(2):224-25.

Bandura A. Social Learning Theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall; 1997.

สมเกียรติ อินทะกนก, พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์, อรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง, รชานนท์ ง่วนใจรัก, ชูสง่า สีสัน, ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์. การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการจัดการโรคไม่ติดติดเรื้อรัง: กรณีศึกษาพื้นที่ รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำซับ อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา. 2564;27(1):56-67

ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์. บทสรุปผลการดำเนินงานจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้องรังด้วยหลัก 4 อ. (ยา 8 ขนาน) โรงพยาบาลปักธงชัยร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (พฤศจิกายน 2564-ตุลาคม 2566): อัดสำเนา. 2566.

ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, ดวงเนตร ธรรมกุล. การเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในประชากรผู้สูงวัย. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 2558;9(2),1-8

Krejcie RV, Morgan DW. Determining sample size for research activities”. Educ Psychol Meas 1970; 30(3): 607-10.

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อของผู้สูงอายุในหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลจัดการคุณภาพชีวิต. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 21 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.hed.go.th/linkHed/446.

สมพร กันทรดุษฏี เตรียมชัยศรี. การปฏิบัติสมาธิเพื่อการเยียวยาสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 12. นนทบุรี: ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเจี้ยฮั้ว; 2556.

สันต์ ใจยอดศิลป์. การทำ IF เป็นวิธีลดน้ำหนักที่ดีไหม [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 21 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.youtube.com/watch?v=RfyIC_6y7HY

Burns N, Groove SK. The practice of nursing research: appraisal, synthesis, and generation of evidence. 6thed. St. Louis: Saunders /Elsevier; 2009.

วิทยา จันทร์ทา. ความฉลาดทางสุขภาพด้านพฤติกรรมการดูแลตนเอง กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดชัยนาท. [วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต], คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2559.

ปรัชญ์ โฆสรัสวดี. ลดน้ำหนักด้วยการทำ IF [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 8 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ambu.or.th/Knowledge/Detail/?gr=3&ref=b6692ea5df920cad691c20319a6fffd7a4a766b8

รชานนท์ ง่วนใจรัก, นฤพร พร่องครบุรี, วรลักษณ์ สมบูรณ์นาดี, ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์, พุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์,อรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแนวใหม่ด้วยหลัก 4 อ. ตําบลตะขบ อําเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.วารสารสุขศึกษา. 2565;45(1):40-55.

แสงอรุณ สุรวงศ์, ทัศนา ชูวรรธนปกรณ์. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองส่วนบุคคล ครอบครัวต่อ HbA1c ในผู้สูงอายุที่เป็นเบาหวานชนิดที่2. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2560;29(1):104-16.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-01-2024