ปัญหาการประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี
คำสำคัญ:
คู่มือ DSPM, การประเมินพัฒนาเด็กบทคัดย่อ
วิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยการใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี ประชาการและกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 จำนวน 146 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการสร้างเป็นแบบสอบถามออนไลน์แล้วจึงเก็บข้อมูลแบบออนไลน์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ แจกแจงความถี่ ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า
ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อปัญหาในการประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) โดยภาพรวมรายด้านพบว่าด้านการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก (M = 3.89, SD = 0.74) ปัญหาที่พบมากได้แก่ จำนวนชั่วโมงเรียนในการเรียนเรื่องการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ไม่ค่อยเพียงพอ รองลงมาคือด้านผู้เรียน และด้านสิ่งสนับสนุน ตามลำดับ (M = 3.84, SD = 0.80), (M = 3.63, SD = 0.80)
คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ควรถูกนำมาทดลองใช้และนำไปปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนเพื่อช่วยเพิ่มทักษะการประเมินเด็กดปฐมวัยในนักศึกษาพยาบาล
References
กชพร ใจอดทน และอรณิชชา ทศตา. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัยนครราชสีมา. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 27(2), 29-41.
กระทรวงสาธารณสุข. (2566). คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย. สำนักงานกิจการโรงพิมพ์. ชาติ ไทยเจริญ และนันธิยา ไทยเจริญ. (2563). กระบวนการเรียนรู้ตามสภาพจริง: ประสบการณ์จากการนํามาใช้ในการสอนนักศึกษาพยาบาล. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 14(34), 259-270.
ณัฐณพัชร์ กลิ่นใจ และนงลักษณ์ ใจฉลาด. (2565). การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 11(2), 1-11.
ดลณชา อิสริยภานันท์. (2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการพยาบาลเด็กของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2567จาก https://research.bkkthon.ac.th/abstac/ab_17102558114558.doc
ตระการ เสนารัตน์ และ เบญจมาภรณ์ เสนารัตน์. (2566). การศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน:การวิเคราะห์อภิมาน. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ, 5(2), 1-12
นิตยา กออิสรานุภาพ, วรรวิษา สำราญเนตร, และวรันณ์ธร โพธารินทร์. (2566). ประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลจากการฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤติ. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 17(2),453-464.
ประภาภรณ์ จังพานิช และวสุรัตน์ พลอยล้วน. (2566). การศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ปี 2564. วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 46(1), 41-53.
ปรางค์ทิพย์ อุจะรัตน, เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล, และวิภาวี หม้ายพิมาย. (2558). เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล ระหว่างการสอนแบบบรรยายและการสอนแบบการเรียนรู้โดยใช้ทีม: การศึกษานำร่อง. วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(ฉบับเสริม 1), 48-54
เปรมยุดา นาครัตน์, สุวณีย์ จอกทอง, และถาวร พุ่มเอี่ยม. (2564). ผลการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในเขตสุขภาพที่ 11. วารสารศาสตร์สุขภาพและการศึกษา, 1(1), 40-49.
พูนสุข ช่วยทอง, พรพรรณ วรสีหะ, เปรมวดี คฤหเดช, และสุรางค์ เชื้อวณิชชากร. (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการเรียนรู้ด้านการเรียนของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 15(1), 33-50.
โยษิตา จรัสรัตนไพบูลย์, ฆนรส อภิญญาลังกร, สุภาพร วัฒนา, สุทธิดา อ่อนละออ และศิราวัลย์ เหรา. (2559). การศึกษาเปรียบเทียบการสอนตามปกติกับการสอนโดยใช้วีดิทัศน์ตามอัธยาศัยต่อความรู้และทักษะการประเมินพัฒนาการเด็กของนักศึกษาพยาบาล. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ, 25(2), 40-51.
วุฒิชัย เลิศสถากิจ. (ม.ป.ป.). การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอน วิชาทฤษฎีและการวิเคราะห์ 2. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2567จาก https://pngcc.ac.th/client-upload/pngcc/download/3.pdf ศุภรชัย สมพงษ์ และประภาศ ปานเจี้ยง. (ม.ป.ป.). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของธอร์นไดค์ท่ีมีต่อโสตทักษะในรายวิชาดนตรีสากลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ, 992-1002.
สถาบันพระบรมราชชนนก. (2560). หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี. อุดรธานี.
สิทธิพงศ์ ปาปะกง. (2565). บทบาทของผู้ปกครองในการประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือ DSPM. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 19(2), 175-185.
สุดศิริ หิรัญชุณหะ และคณะ. (2564). สมรรถนะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาพยาบาล ปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคต่อการพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 41(4), 38-49.
Dwivedi, A., Dwivedi, P., Bobek, S., & Zabukovšek, S.S. (2019). Factors affecting students’ engagement with online content in blended learning. Kybernetes, 48(7), 1500-1515.
Yiru Zhu, Yanjin Liu,Lina Guo, Martyn C. Jones, Yuanli Guo, Suyuan Yv, Yvru Guo, Genoosha Namassevayam, et al. (2020). Testing Two Student Nurse Stress Instruments in Chinese Nursing Students: A Comparative Study Using Exploratory Factor Analysis. Hindawi BioMed Research International, 24, 1-10. doi.org/10.1155/2020/6987198
Schmidt, H. G., & Moust, J. H. C. (2000). Processes that shape small-group tutorial learning: A Review of Research. In D. H. Evensen, & C. E. Hmelo. (Eds.). Problem-based learning: A research perspective on learning interactions. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum, pp 19-52.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สถาบันพระบรมราชชนก
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.