ผลของการเต้นแอโรบิกผสมผสานกับการใช้ผ้าขาวม้าที่มีต่อความอ่อนตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาของผู้สูงอายุในจังหวัดสุโขทัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความอ่อนตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาของผู้สูงอายุหลังการเต้นแอโรบิกผสมผสานกับการใช้ผ้าขาวม้า โดยมีอาสาสมัคร จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายของผู้ที่มีภูมิลำเนาพักอาศัยในเขตจังหวัดสุโขทัย อายุเฉลี่ย 72.9± 5.43 ปี ส่วนสูง 157.6±7.392 เซนติเมตร น้ำหนัก 59.45± 8.35 กิโลกรัม เข้าร่วมโปรแกรมการฝึกเต้นแอโรบิกผสมผสานกับการใช้ผ้าขาวม้า ระยะ 8 สัปดาห์ 3 วันต่อสัปดาห์ ในวันจันทร์ พุธ และศุกร์ วันละ 1 ชั่วโมง โดยทดสอบสมรรถภาพความอ่อนตัวแตะมือด้านหลัง และลุก-นั่งเก้าอี้ 30 วินาที วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่าที กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ภายหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ พบว่า ความอ่อนตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาของอาสาสมัคร เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและนวัตกรรมสุขภาพ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและนวัตกรรมสุขภาพ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและนวัตกรรมสุขภาพ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ก่อนเท่านั้น
References
Ellingson, T., & Conn, VS. (2000). Exercise and quality of life in Elderly Individuals. J Gerontol Nurs, 26(3), 17–25.
Kang, HG., & Dingwell, JB. (2009). Dynamics and stability of muscle activations during walking in healthy young and older adults. J Biomech, 42(14), 2231–2237.
Rubenstein, LZ. (2006). Falls in older people: Epidemiology, risk factors and strategies for prevention. Age and Ageing, 35, 37–41.
Batmyagmar, D., Kundi, M., Ponocny-Seliger, E., Lukas, I., Lehrner, J., and Haslacher, H. (2019). High intensity endurance training is associated with better quality of life, but not with improved cognitive functions in elderly marathon runners. Sci Rep, 9(4629), 1-8.
Ahmad, MF., & Rosli, MA. (2015). Effects of aerobic dance on cardiovascular level and body weight among Women. J Sport Health Sci, 9(12), 874–882.
Olvera, AE. (2008). Cultural Dance and Health. Am J Health Educ, 39(6), 353–359.
Wininger, SR., & Pargman, D. (2003). Assessment of factors associated with exercise enjoyment. J Music Ther, 40(1), 57–73.
Nan, M. & Yifanf, C. (2022). Effect of aerobic exercise on physical function indices in the elderly. Rev Bras Med Esporte, 29, 1-4.
Krishnamoorthi, DC., Kodeeswaran, N., Kumaran, SS., and Halik, AA. (2021). Effect of aerobic dance training on body composition and cardio respiratory endurance among obese. Int j yogic hum mov sports sci, 6(1), 143–145.
Bandy, WD., Irion, JM., and Briggler, M. (1998). The effect of static stretch and dynamic range of motion training on the flexibility of the hamstring muscles. J Orthop Sports Phys Ther, 27(4), 295–300.
Macaluso A, & De Vito G. (2004). Muscle strength, power and adaptations to resistance training in older people. Eur J Appl Physiol, 91, 450–472.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย. (2564). รายงานประจำปี พ.ศ. 2564. สุโขทัย: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย.
ประภาภัทร นิยม. (2553). คู่มือกีฬาภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง.
ชวัลณัฏฐ ชัยนันทพัทธ์. (2560). ผ้าขาวม้าท้องถิ่น หัตถศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่่ง.
ภาณุพงศ์ ชีวพัฒนพงศ์ จุฑามาศ บัตรเจริญ และสมบัติ อ่อนศิริ. (2563). การออกกำลังกายเพื่อพัฒนาสุขภาพกายของผู้สูงอายุร่วมกับผ้าขาวม้า. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 6 (น.11-17). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
คธาวุธ ศรียา ภัทรพงษ์ ยิ่งดํานุ่น และคมกริช บุญเขียว. (2565). การพัฒนากิจกรรมการออกกำลังกายแบบประยุกต์ตามภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุในตำบลหัวไผ่ อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี. LAWARATH SOCIAL E – JOURNAL, 4(3), 203-222.
Pedrero-Chamizo, R., Gómez-Cabello, A., Delgado, S., et al. (2012). Physical fitness levels among independent non-institutionalized Spanish elderly: The elderly EXERNET multi-center study. Arch Gerontol Geriatr, 55(2), 406–416.
Kuo, YL. (2013). The influence of chair seat height on the performance of community-dwelling older adults’ 30-second chair stand test. Aging Clin Exp Res, 25(3), 305–309.
สุขพัชรา ซิ้มเจริญ. (2556). ผ้าขาวม้าพาสุขภาพแข็งแรง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
สำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 60—69 ปี. กรุงเทพฯ: กรมพลศึกษา.
คณิน ประยูรเกียรติ และก้องสยาม ลับไพรี. (2563). การพัฒนาวิธีการออกกำลังกายตามแนวคิดภูมิปัญญาไทยเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ, 12(3), 95-109.
González-Ravé, JM., Sánchez-Gómez, A., and Santos-García, DJ. (2012). Efficacy of two different stretch training programs (Passive vs. Proprioceptive Neuromuscular Facilitation) on shoulder and hip range of motion in older people. J Strength Cond Res, 26(4), 1045-1051.
Myers, TR., Schneider, MG., Schmale, MS., and Hazell, TJ. (2015). Whole-body aerobic resistance training circuit improves aerobic fitness and muscle strength in sedentary young females. J Strength Cond Res, 29(6), 1592-1600.
Delbaere, K., Crombez, G., Vanderstraeten, G., Willems, T., and Cambier, D. (2004). Fear-related avoidance of activities, falls and physical frailty. A prospective community-based cohort study. Age and Ageing, 33(4), 368–373.
สมัย ทองพูล และคณะ. (2559). ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าที่มีต่อภาวะสุขภาพและสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ ตำบลหนองเม็ก อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเม็ก.
Chan, HS., Chu, HY., and Chen, MF. (2022). Effect of horticultural activities on quality of life, perceived stress, and working memory of community-dwelling older adults. Geriatr Nurs, 48, 303–314.
Ballin, M., & Nordström, P. (2021). Does exercise prevent major non-communicable diseases and premature mortality? A critical review based on results from randomized controlled trials. J Intern Med, 290(6), 1112–1129.
สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2562). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง ในเวชปฏิบัติทั่วไป. เชียงใหม่: ทริค ธิงค์.
Tamara, P., Dea, A., Mario, S., and Mirjana, P. (2010). Diabetes mellitus and hypertension have comparable adverse effects on health-related quality of life. BMC Public Health, 10(12), 1-6.
Baker, DW. (2002). Prevention of heart failure. J Card Fail, 8(5), 333–346.
Kokkinos, PF., & Papademetriou, V. (2000). Exercise and hypertension. Coron Artery Dis, 11(2), 99-102.
Kostić, R., Đurašković, R., Miletić, Đ., and Mikalački, M. (2006). Changes in the cardiovascular fitness and body composition of women under the influence of the aerobic dance. FU Phys Ed Sport, 4(1), 59–71.
Wain, DP., & Franklin, BA. (2006). Comparison of cardioprotective benefits of vigorous versus moderate intensity aerobic exercise. Am J Cardiol, 97(1), 141–147.
Myers, J. (2003). Exercise and Cardiovascular Health. Circulation, 107(1), 2–5.
Octaviana, R., Hidayatullah, MF., and Kristiyanto, A. (2020). Effect of low-impact aerobic dance and zumba exercise on body fat percentage in obese women. Malaysian J Public Health Med, 20(1), 160-166.