แรงจูงใจในการเลือกเล่นบาสเกตบอลของนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Main Article Content

กฤษดาวุฒิ สาโยธา
กชพร สอนภักดี
ธนวรรณพร ศรีเมือง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการเลือกเล่นบาสเกตบอลของนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชายที่เล่นกีฬาบาสเกตบอลของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อายุระหว่าง 20 - 21 ปี ปีการศึกษา 1/2565 โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงสำหรับคนที่เป็นนักกีฬาบาสเกตบอล เพศชาย จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อศึกษาแรงจูงใจในการเลือกเล่นบาสเกตบอลของนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในด้านความรักความถนัดและความสนใจ ด้านสุขภาพและอนามัย ด้านรายได้และผลประโยชน์ และด้านเกียรติยศชื่อเสียง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจในการเลือกเล่นบาสเกตบอลของนักกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธนวรรณพร ศรีเมือง, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

-

References

ปรางทิพย์ ยุวานนท์. (2552). การจัดการการกีฬา. กรุงเทพมหานคร: เอ.อาร์.อินฟอร์เมชั่น แอนด์พับลิเคชั่น.

สืบสาย บุญวีรบุตร. (2541). จิตวิทยาการกีฬา. ชลบุรี: ชลบุรีการพิมพ์.

ชาญยุทธ รัตนมงคล. (2552). แรงจูงใจในการเลือกเล่นกีฬาบาสเกตบอลของนักกีฬาบาสเกตบอลในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 37 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิเชียร เกตุสิงห์. (2552). การวัดผลการศึกษาและสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2557). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมบัติ กาญจนา และสมหญิง จันทรุไทย. (2542). จิตวิทยาการกีฬา แนวคิด ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร:

สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชุติมา รอดประทับ. (2550). แรงจูงใจในการเลือกกิจกรรมการออกกําลังกายของประชาชนในสวนสาธารณะจังหวัดชลบุรี

ปีพ.ศ. 2549 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมนึก บุญนาค. (2548). แรงจูงใจในการเลือกฝึกกีฬามวยไทยของนักเรียนชายช่วงชั้นที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ ปีการศึกษา 2547 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

จาตุรนต์ ลิ่มหัน. (2561). แรงจูงใจในการตัดสินใจเล่นกีฬาฟุตซอลอาชีพ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุปราณี ขวัญบุญจันทร์. (2544). จิตวิทยาการกีฬา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Cohen, JM. & Uphoft, NT. (1980). Participation’s Place in Rural Development: Seeking Clarify Though Specificity. World Development, 8(3), 213-218.

ประเชิญ รอดบ้านเกาะ. (2543). แรงจูงใจในการเลือกเล่นเซปักตะกร้อของนักกีฬาหญิง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Maslow, A.H. (1970). Motivation and Personality. New York: Harper & Row.

วีรยุทธ จิตรขุนทด. (2554). แรงจูงใจในการเล่นกีฬาฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอลทีมสโมสรบุรีรัมย์. วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 1(3). สืบค้น 22 ธันวาคม 2565, จาก https://mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2556/F_Tharawut_Boonchuailuea.pdf

วัชระ คำเพ็ง. (2537). การศึกษาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักมวยไทยอาชีพ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภัทรดนัย ประสานตรี. (2556). แรงจูงใจในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลของนักกีฬาบาสเกตบอลในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 40. วารสารวิชาการ สถาบันการพลศึกษา, 5(3), 77-88.

เพรชรัตน์ หิรัญชาติ. (2530). ความต้องการออกกำลังกายการจัดบริการด้านการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคน: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มลิวัลย์ ผิวคราม. (2549). การศึกษาองค์ประกอบแรงจูงใจในการเป็นนักกีฬาของสถาบันกีฬาโครงการวิจัยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เรื่องการศึกษาองค์ประกอบแรงจูงใจในนักกีฬาของสถาบันการพลศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เพ็ญพรรณ มูลมงคล. (2548). แรงจูงใจในการเลือกเล่นกีฬายกน้ำหนักของนักกีฬาโรงเรียนกีฬา ปีการศึกษา 2547 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กนกวรรณ สารจันทร์. (2545). แรงจูงใจในการเล่นกีฬาซอฟท์บอลของนักกีฬาซอฟท์บอลในการแข่งขันกีฬาซอฟท์บอล ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.