แรงจูงใจของนักกีฬาฟุตบอลที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งประเทศไทยรอบคัดเลือก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 48 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Main Article Content

สมฤทัย อาริสาโพธิ์
อริสา สารคำ
อุษณีย์ หงษ์ศรีจันทร์
ธนวรรณพร ศรีเมือง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจของนักกีฬาฟุตบอลที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งประเทศไทยรอบคัดเลือกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 48 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาฟุตบอลมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลือกแบบเจาะจง จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามแรงจูงใจของนักกีฬาฟุตบอลที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งประเทศไทยรอบคัดเลือกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 48 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจของนักกีฬาฟุตบอลที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งประเทศไทย รอบคัดเลือกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 48 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธนวรรณพร ศรีเมือง, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

-

References

ศูนย์พัฒนาหนังสือ. (2537). มารู้ มาลอง มาเล่นกีฬา. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภา.

ปรางทิพย์ ยุวานนท์. (2552). การจัดการการกีฬา. กรุงเทพมหานคร: เอ.อาร์.อินฟอร์เมชั่น แอนด์พับลิเคชั่น.

สมบัติ กาญจนกิจ และสมหญิง จันทรุไทย. (2542). จิตวิทยาการกีฬา แนวคิดทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประดิษฐ์ เอกทัศน์. (2556). จิตวิทยาสำหรับครู. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ธนัญญ์พัฒน์ อำพรไพ สุรเชษฐ์ สุชัยยะ กิตติพงษ์ โพธิมู และสุพิตร สมาหิโต. (2563). ระดับแรงจูงใจที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเล่นกีฬาฟุตบอลของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 6(3), 442-450.

วิเชียร เกตุสิงห์. (2552). การวัดผลการศึกษาและสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2557). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ตนุภัทร โลหะพงศธร. (2564). พลังของ Self-Efficacy หากเชื่อมั่นว่าตัวเองเก่งและมีความสามารถย่อมทำสิ่งนั้นได้สำเร็จ. สืบค้น 12 พฤศจิกายน 2565, จาก https://becommon.co/life/heart-self-efficacy/

Rakchanok. (2011). การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-Efficacy). สืบค้น 12 พฤศจิกายน 2565, จากhttps://romravin.wordpress.com/

เฉลิมรัฐ ทองสิริมณีรัตน์. (2553). แรงจูงใจในการเลือกเล่นกรีฑาของเยาวชนในจังหวัดลำปาง ปี พ.ศ. 2551 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Novabizz. (2022). ความหมายของแรงจูงใจและการจูงใจ. สืบค้น 12 พฤศจิกายน 2565, จากhttps://www.novabizz.com/NovaAce/Motives.htm#ixzz3aB9G8Gfh

Maslow, AH. (1970). Motivation and Personality. New York: Harper & Row.

ธิติพงษ์ สุขดี มงกุฎ มูลสิธรรม และธนู เพ็งแก่นแท้. (2555). การเปรียบเทียบแรงจูงใจในการเล่นกีฬาเซปักตะกร้อของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 ปีการศึกษา 2555. วารสารคณะพลศึกษา, 15(ฉบับพิเศษ), 88-95.

กษมา สุขุมาลจันทร์. (2560). แรงจูงใจในการเล่นกีฬาชักกะเย่อของนักกีฬาชักกะเย่อในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 32 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สุพรรณบุรี: มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ.

สมบัติ อาริยาศาล. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถานศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academi, 3(2), 33-46.

ประเวศ สันติภาษ. (2553). แรงจูงใจในการเลือกเล่นกีฬารักบี้ฟุตบอลของนักกีฬาหญิงที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2553 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

คุณัตว์ พิธพรชชัยกุล และนฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร. (2549). อิทธิพลของลักษณะเป้าหมายใฝ่สัมฤทธิ์ที่มีต่อแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาของนักกีฬาระดับอุดมศึกษา. วารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา, 4(1), 17-27.

สรายุธ รักภู่. (2554). แรงจูงใจในการเล่นกรีฑาของนักกรีฑาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โยธิน ศันสนยุทธ และคณะ. (2533). บทที่ 6 เรื่องการจูงใจ. สืบค้น 22 ธันวาคม 2565, จาก http://you-know.50webs.com/gp6.html