ความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่มีต่อการแข่งขันฟุตบอล เดอะแมตช์แบงค็อกเซ็นจูรี่ คัพ ณ สนามราชมังคลากีฬาสถานระหว่าง สโมสรแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด พบกับ สโมสรลิเวอร์พูล

Main Article Content

เพ็ญนภา จตุวงศา
ศศิธร กราบบุญมา
ธนวรรณพร ศรีเมือง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่มีต่อการแข่งขันฟุตบอลเดอะแมตช์แบงค็อกเซ็นจูรี่ คัพ ณ สนามราชมังคลากีฬาสถานระหว่างสโมสรแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด พบกับสโมสรลิเวอร์พูล กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จำนวน 248 คน ที่ปฏิบัติงานอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่มีต่อการแข่งขันฟุตบอลเดอะแมตช์แบงค็อกเซ็นจูรี่ คัพ ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน ระหว่างสโมสรแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด พบกับ สโมสรลิเวอร์พูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย    ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่มีต่อการแข่งขันฟุตบอลเดอะแมตช์แบงค็อกเซ็นจูรี่ คัพ ณ สนามราชมังคลากีฬาสถานระหว่างสโมสรแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด พบกับสโมสรลิเวอร์พูล โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธนวรรณพร ศรีเมือง, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

-

References

เตชิต อภินันท์ธรรม. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเชียร์สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดของแฟนบอลคนไทย(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุกิจจา จันทะชุม. (2554). การศึกษาทัศนคติ ความคาดหวังและความพึงพอใจของยุวชนและของผู้ปกครองต่อโครงการอบรมฟุตบอลอะคาเดมี่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

Krejcie, RV. & Morgan, DW. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

วิเชียร เกตุสิงห์. (2552). การวัดผลการศึกษาและสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2557). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Tax-definition. (2022). ความรู้สึก. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://th.tax-definition.org/83424-feeling

วราลักษณ์ ดลประสิทธิ์. (2561). การเปรียบเทียบผลของการมองรูปภาพที่เร้าอารมณ์ต่อความรู้สึกระหว่างนักเรียนปกติกับนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Becker. (1997). The health belief model and personal heath behavior. Charles B. Slack.

วทัญญู ลีวงศ์วรกุล. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการติดตามกีฬาฟุตบอลไทยของคนไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วิกีพีเดีย. (2564). ความเหมาะสม. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/

ศุภกิจ จีนศาตร และอภิสิทธิ์ พิกุลทอง. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของแฟนบอลที่มีต่อสโมสรฟุตบอลชลบุรี(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ลักษมี สารบรรณ. (2565). คุณภาพ (Quality) คืออะไร. สืบค้น 11 พฤศจิกายน 2565, จากhttps://www.gotoknow.org/posts/189885

น้ำลิน เทียมแก้ว. (2561). ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีการศึกษา 2555 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

โสภาพรรณ สุริยะมณ. (2561). การวิเคราะห์ความพร้อมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน: กรณีศึกษาหน่วยงานเลขานุการผู้บริหาร สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล (รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

นิตยา ปินตาวงค์. (2559). ความพร้อมของนักศึกษาที่มีผลต่อแนวคิดประชาคมอาเซียนของนักศึกษา: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ลําปาง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุดารัตน์ บริรักษ์กุล. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเชียร์สโมสรลิเวอร์พูลของแฟนบอลคนไทย(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.