ความคิดเห็นเกี่ยวกับการอดอาหารเป็นพัก ๆ 16/8 ของนักศึกษาหญิง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Main Article Content

ปานประดับ ชัยดี
พัชรา โพธิ์กลาง
ธนวรรณพร ศรีเมือง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการอดอาหารเป็นพัก ๆ 16/8 ในนักศึกษาเพศหญิง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาเพศหญิง อายุระหว่าง 19-22 ปี จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขี้นเพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการอดอาหารเป็นพัก ๆ 16/8 ในด้านความชอบ ด้านการรับรู้สื่อ ด้านความเหมาะสม และด้านความพร้อม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการอดอาหารเป็นพัก ๆ 16/8 ของนักศึกษาเพศหญิง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในด้านความชอบ ด้านการรับรู้สื่อ ด้านความเหมาะสม และด้านความพร้อม โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธนวรรณพร ศรีเมือง, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

-

References

Krejcie, RV., & Morgan, DW. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

พัชญา บุญชยาอนันต์. (2558). คู่มือแนวทางการดูแลผู้ที่มีน้ำหนักเกินและอ้วน. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน.

ท็อปส์ วีต้า. (2565). การทำ IF ลดน้ำหนักจริงไหม หรือแค่กระแสนิยม. สืบค้น 18 พฤศจิกายน 2565, จากhttps://www.topsvita.com/

ปกรณ์ ฮูเซ็น. (2565). ลดน้ำหนักให้ได้ผลด้วย Intermittent Fasting (IF). สืบค้น 18 พฤศจิกายน 2565, จากhttps://www.samitivejhospitals.com/

All Well. (2022). วิธีลดน้ำหนักแบบ IF ทำตามได้ง่าย ๆ สำหรับคนที่ไม่ชอบออกกำลังกาย. สืบค้น 18 พฤศจิกายน 2565, จาก

https://allwellhealthcare.com/intermitent-fasting/

Thip. (2021). การวิจัยใหม่พบว่าการทำ Intermittent Fasting มีประโยชน์มากกว่าการลดน้ำหนัก. สืบค้น 18 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.vrunvride.com/benefits-of-intermittent-fasting-new-study/

นวพร นภาทิวาอำนวย. (2561). การอดอาหารเป็นช่วง ๆ นั้นดีจริงหรือ. วารสารโภชนบำบัด, 26(3), 16-19.

วิเชียร เกตุสิงห์. (2552). การวัดผลการศึกษาและสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2557). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

หฤทัย พันเพชร และอาพันชนก ขันมณี. (2550). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการอดอาหารบางมื้อของนิสิตคณะสาธารณสุขศาสตร์ชั้นปีที่ 3 และ 4 มหาวิทยาลัยนเรศวร (การศึกษาค้นคว้าอิสระด้วยตนเอง). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

CONSUMER INSIGHT. (2562). เปิด Insights พฤติกรรมการกินของคนไทย ซื้ออาหารจาก “ความชอบ-รสชาติ” มากกว่าคุณค่า. สืบค้น 22 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/thai-consumer-eating-behavior/

นวลนภา ยุคันตพรพงษ์ และพระมหาอดิเดช สติวโร. (2565). การทานอาหารมื้อเดียวที่ปรากฏในกกจูปมสูตร. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร, 5(2), 211-221.

ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์. (2555). พฤติกรรมการลดน้ำหนักที่ไม่ถูกต้องของวัยรุ่นและเยาวชนไทย. พยาบาลสาร, 39(4), 179-190.

กาญจนา อยู่เจริญสุข. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤตกรรมการลดน้ำหนักของนักศึกษาหญิง ระดับอุดมศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ศิริบงกช ดาวดวง. (2545). ความหมายของความอ้วนกับการใช้ยาของวัยรุ่นในสถาบันอุดมศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

จุลนี เทียนไทย. (2549). การเติบโตของวัยรุ่นไทยท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของสังคม: กรณีศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างทางเพศในการมองภาพลักษณ์รูปร่างในอุดมคติความไม่พึงพอใจในรูปร่างและวิธีการให้ได้มาซึ่งภาพลักษณ์รูปร่างอันเป็นผลเสียต่อสุขภาพของวัยรุ่นไทยอายุ 16-19 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปวีณา ยุกตานนท์. (2549). ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาลดความอ้วนของวัยรุ่นหญิงตอนปลาย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิติยากร คล่องดี ศรัณญา เบญจกุล มณฑา เก่งการพานิช และธราดล เก่งการพานิช. (2562). ผลของโปรแกรมฉลาดบริโภคโดยประยุกต์แนวคิดการกำกับตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลิอดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 25(3), 326-339.

นักกำหนดอาหาร. (2565). IF ให้ถูกวิธี ลดไซส์ ลดโรค. สืบค้น 22 พฤศจิกายน 2565, จากhttps://www.bangkokhospital.com/content/intermittent-fasting

โชติ เหลืองช่อสิริ. (2564). อดอาหารหลายวันส่งผลเสียต่อร่างกายอย่างไร. สืบค้น 22 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.phyathai.com/article_detail/

พรภา ปวีณดำรง. (2563). การศึกษาผลของการอดอาหารเป็นช่วงเวลาต่อระดับไขมันในเลือด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ดรุณี วรนาม. (2562). ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายและระดับน้ำตาลในเลือดของประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.