การพัฒนาวุ้นเจลาตินสำเร็จรูปพิกัดตรีสมอ
คำสำคัญ:
พิกัดตรีสมอ, วุ้นเจลาตินสำเร็จรูปบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อพัฒนายาพิกัดตรีสมอ จากสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด ประกอบด้วย สมอพิเภก สมอเทศ สมอไทย ใช้แก้เสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไข้ ผายธาตุ รู้ถ่ายรู้ปิดเอง ตามแผนโบราณจะใช้การต้มน้ำ การศึกษานี้จึงสกัดตรีสมอด้วยการต้มน้ำนำมาพัฒนาเป็นวุ้นเจลลาตินสำเร็จรูป แล้วประเมินลักษณะทา งกายภาพ สีของวุ้นเจลลาติน ทดสอบ weight variation (น้ำหนักแต่ละเม็ดจะแตกต่างจากค่าเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 5 ) ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการศึกษาพบว่า สูตรตำรับวุ้นเจลาตินสำเร็จรูปพิกัดตรีสมอ สูตรที่ 3 ซึ่งประกอบด้วยสารสกัดตรีสมอ 1.43% น้ำ 11.57% เจลาตินผง 11.00% เจลลี่โอ 15.00% น้ำตาลมะ พร้าว 60.00% สารแต่งกลิ่นและอื่น ๆ 1.00% มีลักษณะทางกายภาพดีที่สุด
References
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ฐานข้อมูลเครื่องยาสมอพิเภก (สมอแหน).http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewage& pid=133.
พระยาพิศณุประสาทเวช. (2542). แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2: พระคัมภีร์ธาตุบรรจบ. 643-646.
สุเทพ กลชาญวิทย์. (2547). โรคทางเดินอาหารและการรักษา 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2563). งานวิจัยสมอพิเภก กระทรวงสาธารณสุข. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/webroot/Plant/Mpri2013/ Q_Terminalia.shtm.
Costilla, V. C., & Foxx-Orenstein, A. E. (2014). Constipation: understanding mechanisms and management. Clin Geriatr Med. 30(1); 107-15.
Danvivat D, Tankeyoon M, Sriratanabun A. (1988). A study of bowel pattern in Thai population. Chula Med J. 32; 803-9.
Higgins, P. D., Johanson, J. F. (2004). Epidemiology of constipation in North America: a systematic review. Am J Gastroenterol. 99(4); 750–9.
Jirankalgikar, Y. M., Ashok B. K., Dwivedi R. R. (2012). A comparative evaluation of intestinal transit time of two dosage forms of Haritaki [Terminalia chebula Retz]. Ayu., 33(3); 447-449.
Levine, G. M. (2007). Constipation. In Frank, P.L. Education, Gastrointestinal Pathophysiology. NewYork: Oxford University Press; 46-47.
Lee Y. K., Nomoto K., Salminen S., & Gorbach S. (1999). Handbook of probiotics. New York: John Wiley & Sons, Inc.
Malekzadeh, F., Ehsanifar H., Shahamat M., Levin M., Colwell R. R. (2001). Antibacterial activity of black myrobalan (Terminalia chebula Retz) against Helicobacter pylori. International Journal of Antimicrobial Agents. 18; 85-88.
Wannasiri, S., Jaijoy K., Chiranthanut N., Soonthornchareonnon N., Sireeratawong S. (2015). Effect of Tri-sa-maw recipe on gastrointestinal regulation and motility. J Med Assoc Thai. 98(Suppl.2): S1-S7.
World Gastroenterology Organisation Global Guidelines. (2010). Constipation: a global perspective World Gastroenterology Organization. 1-13.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.