ผลของโปรแกรมการพัฒนาความรู้และสมรรถนะ การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุสำหรับอาสา สมัครฉุกเฉินการแพทย์ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยฉุกเฉิน, การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ, อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลัง (one group pretest-posttest design) เพื่อเปรียบเทียบความรู้และสมรรถนะด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน จุดเกิดเหตุสำหรับอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ อำเภอสำโรงทาบ ความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ และ (3) แบบสอบถามสมรรถนะต้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จดเกิดเหตุ ตัวอย่างในการศึกษาเป็นอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 63 คน คน โดยเข้ามโปรแกรม 3 ครั้ง ได้แก่ครั้งที่ 1 การเตรียมความพร้อม ครั้งที่ 2 การฝึกประสบการณ์เพิ่มพูนสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ จากสถานการณ์จริง และครั้งที่ 3 การประเมินผลและสะท้อนผลการดแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเกิดเหตุ วิเคราะห์ข้อมลเชิงปริมาณด้วยสถิติพรรณนาและสถิติ paired 1-test ผลการวิจัยพบว่า คะแพนความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จดเกิดเหตุ สำหรับอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ ก่อนและหลังโปรแกรม พบว่า คะแนนความรู้เฉลี่ยหลังโปรแกรม (M=29.62, SD=0.55) สูงกว่าก่อนโปรแกรม (M=26.75, SD=4.17) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ p< 0.001 และคะแนนสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุสำหรับอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ อำเภอสำโรงทานาน จังหวัดสุรินทร์ ก่อนและพลังโปรแกรม พบว่า คะแนนสมรรถนะเฉลี่ยหลังโปรแกรม (M=236.67, SD=7.80) สูงกว่าก่อนโปรแกรม (M=190.65, SD=35.04) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ p<0.001 ข้อเสนอแนะ ควรมีการขยายผลนำโปรแกรมการพัฒนาความรู้และสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเกิดเหตุสำหรับอาสาสมัดรฉุกเฉินการแพทย์ไปใช้ในกลุ่มอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์เครือข่ายหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินอื่น ๆ ต่อไป
References
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.แผนหลักการแพทย์ฉุกเฉิน ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2566-2570 (แผนปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน).นนทบุรี:สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2565.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.สถานการณ์และแนวโน้มสุขภาพและการแพทย์ฉุกเฉิน(ระดับโลกและประเทศไทย).นนทบุรี:สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2565.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.(2565ค).นโยบายและทิศทางการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทยมุ่งสู่อนาคต พ.ศ. 2570 Thailand EMS Agenda for the future 2027.นนทบุรี:สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2565.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.ระบบคลังข้อมูลการแพทย์ฉุกเฉิน (Data Warehouse). [อินเทอร์เน็ต]. 2567 [สืบค้นเมื่อ 24 เม.ย. 2567]. แหล่งข้อมูลhttps://report.niems.go.th/niemsdwh/index.html
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินเรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิฉุกเฉินการแพทย์ (มคฉ.1)
พ.ศ.2565. (2565, 11 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 139 ตอนพิเศษ 106 ง. หน้า 5.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551(พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2552.
จีรนันท์ วรรณชัย.ผลของโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ สำหรับอาสาสมัครการแพทย์ฉุกเฉินเขตอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น.วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา, 8(3), 208-218; 2566.
The National Association of Emergency Medical Technicians. 2018 National EMS Scope of Practice Model. New Jersey Ave SE, Washington; 2018.
Krejcie, R.V., & D.W. Morgan. Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement,30(3),607– 610; 1970.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.คู่มือแนวทางปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่และการกำกับดูแลหน่วยปฏิบัติการแพทย์ พ.ศ. 2564.นนทบุรี:สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2565.
Bloom Benjamin S., et al. Taxonomy of Educational Objectives. New York: DavidMckay Company; 1956.
Gagne, R.M. The Condition of Learning. New York: Rinehart and Winston; 1985.
อภิสรา ศรีสรณ์.ประสิทธิผลการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ ต่อความพึงพอใจของผู้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ.[อินเทอร์เน็ต]. 2567 [สืบค้นเมื่อ 17 ส.ค. 2567]. แหล่งข้อมูล https://bkpho.moph.go.th/ssjweb/bkresearch/require/files/post-doc/20240521121238.pdf
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.กฎหมาย ประกาศ หลักเกณฑ์ เงื่อนไขเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการศึกษาฝึกอบรมและการให้ประกาศนียบัตรผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน.นนทบุรี:อัลติเมท ปริ้นติ้ง; 2560.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.