ผลลัพธ์ของการจัดการผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน-วิกฤต หน่วยผู้ป่วยฉุกเฉิน โรงพยาบาลด่านช้าง

ผู้แต่ง

  • นุจรี จันทร์สคราญ งานอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช โรงพยาบาลด่านช้าง
  • นรินทร ขอพึ่ง งานอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช โรงพยาบาลด่านช้าง

คำสำคัญ:

การคัดกรองผู้ป่วย, การศึกษาข้อมูลย้อนหลัง, ผลลัพธ์การจัดการผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน-วิกฤต, ห้องฉุกเฉิน

บทคัดย่อ

       ระบบการคัดแยกความรุนแรงของโรค MOPH ED. Triage ของกระทรวงสาธารณสุข เป็นกระบวนการคัดกรอง (Triage) โดยการจัดหมวดหมู่ผู้ป่วยตามความรุนแรงของการบาดเจ็บ เพื่อตัดสินความเร่งด่วนในการช่วยเหลือทางการแพทย์ การคัดกรองที่แม่นยำาจะช่วยจำแนกประเภทผู้ป่วยได้ถูกต้อง และลดระยะเวลาในการรอคอยในหน่วยผู้ป่วยฉุกเฉินได้ การคัดกรองผู้ป่วยผิดประเภทจะทำาให้การวินิจฉัยเกิดความล่าช้า ส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้ป่วยอาจนำาไปสู่การเสียชีวิตได้

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการจัดการผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน-วิกฤต หน่วยผู้ป่วยฉุกเฉิน โรงพยาบาลด่านช้าง เป็นการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง (Retrospective Study) จากเวชระเบียนของผู้ป่วยฉุกเฉิน ใช้ระบบการคัดแยกความรุนแรงของโรค MOPH ED. Triage ของกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2566 คำานวณกลุ่มตัวอย่างได้ 238 คนและทำาการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Selection) เครื่องมือที่ใช้ในการดำาเนินการคือ แนวทางการคัดกรอง MOPHED. Triage ของกระทรวงสาธารณสุข เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกการคดัแยกความรนุแรงของโรคตามเกณฑ์ MOPH ED. Triage ของกระทรวงสาธารณสขุ และแบบบันทึกระยะเวลาการให้การพยาบาลดูแลผู้ป่วยที่เข้ารับบริการในหน่วยฉุกเฉินตามขั้นตอนการจัดการผู้ป่วย โรงพยาบาลด่านช้าง

       ผลการวิจัยพบว่า ผลการคัดกรองความรุนแรงของโรคตามเกณฑ์ MOPH ED. Triage ตามระดับความฉุกเฉินเร่งด่วน และช่วงระยะเวลาที่มารับบริการพบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 2 Emergency ร้อยละ 71.43และเป็นผู้ป่วยที่มาใช้บริการช่วงเวรเช้ามากที่สุด ร้อยละ 43.70 ความถูกต้องของการคัดกรองตามระดับความฉุกเฉินเร่งด่วน ผลการประเมินคุณภาพการคัดแยกประเภทผู้ป่วยฉุกเฉินพบว่า คัดแยกถูกต้องร้อยละ 94.96โดยคัดแยก ต่ำกว่าเกณฑ์ (Under Triage) ร้อยละ 2.10 สูงกว่าเกณฑ์ (Over Triage) ร้อยละ 2.94 ระยะเวลาการให้การพยาบาลดูแลผู้ป่วยที่เข้ารับบริการในหน่วยฉุกเฉินตามขั้นตอนการจัดการผู้ป่วย โรงพยาบาลด่านช้างตั้งแต่จุดคัดกรองจนถึงจำหน่ายออกจากหน่วยฉุกเฉิน เฉลี่ย 22.08 นาที (S.D = 5.47) ซึ่งเป็นไปมาตรการลดความแออัด (ER-Overcrowding) ตามแนวทางการจัดบริการห้องฉุกเฉินของกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข

References

Burivong, R. (2018).MOPH ED. triage(2nd ed). Department of Medical Services, Ministry of Public Health. [in Thai]

Huabbangyang, T., Rojsaengroeng, R., Tiyawat, G., Silakoon, A., Vanichkulbodee, A., Sri-On, J., & Buathong, S. (2023). Associated factors of under and over-triage based on the emergencyseverity index; A retrospective cross-sectional study.Archives of Academic EmergencyMedicine,11(1), e57. https://doi.org/10.22037/aaem.v11i1.2076

Jordi, K., Grossmann, F., Gaddis, G. M., Cignacco, E., Denhaerynck, K., Schwendimann, R., & Nickel, C. H. (2015). Nurses’ accuracy and self-perceived ability using the Emergency SeverityIndex triage tool: A cross-sectional study in four Swiss hospitals.Scandinavian Journal of Trauma, Resuscitation and Emergency Medicine, 23, 62.https://doi.org/10.1186/s13049-015-0142-y

Karaket, A., Panumaswiwat, S., Talerd, W., & Parnoom, S. (2021). Reducing overcrowding at the emergency department in community hospital at Sisaket province.Journal of Health Science, 30(Suppl. 1), S102-S112. [in Thai]

Kraysubun, C. (2018).Guideline for ER service delivery.Department of Medical Services, Ministry of Public Health. [in Thai]

Larthum, K., & Pearkao, C. (2017). A study of quality of emergency patient triage at Srinagarind hospital. InThe National and International Graduate Research Conference2017 (pp.MMP27-MMP27-12). Khon Kaen University. https://gsbooks.gs.kku.ac.th/60/nigrc2017/pdf/MMP27.pdf [in Thai]

Mistry, B., Stewart De Ramirez, S., Kelen, G., Schmitz, P. S. K., Balhara, K. S., Levin, S., Martinez, D., Psoter, K., Anton, X., & Hinson, J. S. (2018). Accuracy and reliability of emergencydepartment triage using the emergency severity index: An international multicenterassessment.Annals of Emergency Medicine,71(5), 581-587.https://doi.org/10.1016/j.annemergmed.2017.09.036

Ritintarangoon, O., Khowtong, W., Kongsomboon, P., & Kheaw-on, S. (2018). The development of triage system at emergency department in Sawanpracharak hospital.Journal of theDepartment of Medical Services,43(2), 146-151. [in Thai]

Saetae, N., & Patcharin Nanu, P. (2021). Development of a new MOPH ED. Triage model for emergency departments of Yala hospital network.The Southern College NetworkJournal of Nursing and Public Health, 9(1), 149-161. [in Thai]

Soontorn, T., Sitthimongkol, Y., Thosingha, O., & Viwatwongkasem, C. (2018). Factors influencing the accuracy of triage by registered nurses in trauma patients.Pacific Rim InternationalJournal of Nursing Research, 22(2), 212-130. https://he02.tcithaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/86192

Suamchaiyaphum, K., Jones, A. R., & Markaki, A. (2024). Triage accuracy of emergency nurses: An evidence-based review.Journal of Emergency Nursing,50(1), 44-54. https://doi.org/10.1016/j.jen.2023.10.001

Sukswang, S. (2018). Triage nurse: Beyond main process through practice.Journal of Health Sciences Scholarship, 5(2), 1-4. [in Thai]

Sukjamnong, S., Pakkarato, B., Singhan, S., Srisawang., W., & Chumnanborirak, P. (2021). Quality of classification of emergency patients at Na Dun hospital, Mahasarakham province. Journal of Emergency Medical Services of Thailand, 1(2), 123-233. [in Thai]

Tam, H. L., Chung, S. F., & Lou, C. K. (2018). A review of triage accuracy and future direction.BMC Emergency Medicine,18(1), 58. https://doi.org/10.1186/s12873-018-0215-0Wachiradilok, P., Sirisamutr, T., Chaiyasit, S., & Sethasathien, A. (2016). A nationwide survey of

Thailand emergency departments triage systems.Thai Journal of Nursing Council, 31(2), 96-108. [in Thai]

Yancey, C. C., & O’Rourke, M. C. (2023).Emergency department triage.StatPearls.

Zachariasse, J. M., van der Hagen, V., Seiger, N., Mackway-Jones, K., van Veen, M., & Moll, H. A. (2019). Performance of triage systems in emergency care: A systematic review and meta-analysis.BMJ Open,9(5), e026471. https://doi.org/10.1136/bmjopen-2018-026471

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-26