พัฒนาการโดยสังเขปของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ในประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.14456/jemst.2021.6คำสำคัญ:
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน, พัฒนาการ, ประเทศไทยบทคัดย่อ
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย มีองค์ประกอบครอบคลุมอย่างกว้างขวาง เช่นเดียวกับ 6 เสาหลัก ของระบบสุขภาพ ขององค์การอนามัยโลก ทำให้หน่วยงานที่รับผิดชอบสามารถทำหน้าที่ได้อย่างครอบคลุมเพียงพอในการปฏิบัติงานเพื่อคุ้มครอง ชีวิตของประชาชนที่เจ็บป่วยฉุกเฉิน พัฒนาการของระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทยมีการพัฒนาแบบแยกส่วนมายาวนานกว่าร้อยปี โดยระยะแรกเป็นส่วนหนึ่งของการบรรเทาทุกข์ ระยะที่สองเป็นการพัฒนาระบบรถพยาบาลและระบบการแพทย์ฉุกเฉินบางส่วน ระยะที่สามเป็นการพัฒนาระบบการคลังและการผลักดันให้เกิดระบบการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ระยะที่สี่เป็นการพัฒนาหลังเกิดพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินแล้ว ซึ่งสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติสามารถพัฒนาอย่างมียุทธศาสตร์ และบรรลุเป้าหมายได้ดีโดยประหยัด
References
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน; 2556.
พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125, ตอนที่ 44 ก (ลงวันที่ 6 มีนาคม 2551).
World Health Organization. Monitoring the building blocks of health systems: a handbook of indicators and their measurement strategies. Geneva: World Health Organization: 2010.
วิชัย โชควิวัฒน. แลระบบประกันสุขภาพของญี่ปุ่น. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; 2557.
วิชัย โชควิวัฒน. ตำนานบัตรทอง: ประวัติศาสตร์การสร้าง ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิมิตรภาพบำบัด (กองทุนนายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์); 2558.
วิชัย โชควิวัฒน. ความจริงเรื่องตระกูล ส. สองทศวรรษการ ปฏิรูประบบสุขภาพในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ; 2557.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. สภากาชาดไทย [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 26 มี.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://th.wikipedia.org/wiki/สภากาชาดไทย
วิชัย โชควิวัฒน. ศาลเจ้าวังต้น. สมุทรสาคร: พิมพ์ดี; 2562.
วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี. มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 26 มี.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://th.wikipedia.org.wiki.มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. มูลนิธิร่วมกตัญญู [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 26 มี.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://th.wikipedia.org/wiki/มูลนิธิร่วมกตัญญู
สุดารัตน์ นิราพาธ, บรรณาธิการ. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ: สืบสานพระราชปณิธาน “การแพทย์ฉุกเฉิน” เพื่อคนไทย. นนทบุรี: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2556.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. รายงานประจำปีสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ พ.ศ. 2562. นนทบุรี: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ; 2563.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.