อุบัติเหตุทางถนน “ภัยเงียบ” ที่ยังอันตรายและท้าทายการจัดการ
DOI:
https://doi.org/10.14456/jemst.2021.8คำสำคัญ:
อุบัติเหตุทางถนน, ความปลอดภัยทางถนน, ค่าเป้าหมายการเสียชีวิตบทคัดย่อ
“วิกฤติโควิด” สร้างความตื่นตัวในการระมัดระวังตนเองของผู้คนเป็นอย่างมาก ต่างจาก “ภัยเงียบ” ที่เกิดจากอุบัติเหตุ ทางถนน ที่ผู้คนยังคงไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร แม้ว่าตัวเลขผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนในรอบ 10 ปีที่ผ่านมาของไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554–2563 สูงถึงเฉลี่ยปีละ 2 หมื่นราย โดยเฉพาะช่วงอายุ 15-19 ปี และสาเหตุการเสียชีวิตมาจากการใช้รถจักรยานยนต์ เป็นหลัก จากการที่ภาครัฐได้กำหนดค่าเป้าหมายการเสียชีวิตที่ท้าทายจากปัจจุบัน 27.2 ต่อแสนประชากร ให้เหลืออัตราตาย ไม่เกิน 12 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2570 เพื่อให้บรรลุเป้าหมายจึงจำเป็นที่ต้องมีทั้งมาตรการเร่งด่วนระยะสั้นเพื่อลดความ เสี่ยงสำคัญในกลุ่มผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงหลักที่เกิดเหตุและเสียชีวิต โดยเฉพาะพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยให้ ได้ 100% ควบคู่ไปกับการมีมาตรการระยะกลางและระยะยาว สำหรับแก้ไขสาเหตุเชิงโครงสร้างต่างๆ ทั้งการพัฒนาโครงสร้าง การเดินทาง โครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ ผังเมือง และการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีความเข้มแข็งกับการจัดการปัญหาในพื้นที่ โดย บทเรียนสำคัญจากประเทศที่ประสบความสำเร็จล้วนแล้วแต่มุ่งเน้นการจัดการเชิงระบบและโครงสร้างสำคัญ เสริมไปกับการจัดการกลุ่มเสี่ยงหลัก
References
กองป้องกันการบาดเจ็บกรมควบคุมโรค. สถานการณ์การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: http://dip.ddc.moph.go.th/new/3base_status_new
สำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค. อุบัติเหตุทางถนนกับความพิการ [อินเทอร์เน็ต]. 2554 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: http://www.thaincd.com/document/file/download/leaflet/download1no134. pdf
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. การสำรวจความพิการ พ.ศ. 2560 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาสวัสดิการสังคม/ความพิการ/2560/full_ report_60.pdf
ณัชชา โอเจริญ. อุบัติเหตุทางถนน…ความเสียหายร้ายแรงต่อเศรษฐกิจไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://tdri.or.th/2017/08/econ_traffic_accidents/
กองสาธารณสุขฉุกเฉิน. Dashboard ช่วงเทศกาลภาพรวมทั้งประเทศ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: http://ict-pher.moph.go.th/index.php?r=- dashboard/default/monitor&precessid=
อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์ , ธวัชชัย เหล่าศิริหงษ์ทอง, กวี เกื้อเกษมบุญ. การศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุจราจรทางถนน. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. 2547; 27: 333-55.
มติชนออนไลน์. ชี้ชัด! ผลวิจัยอุบัติเหตุในไทยพบสาเหตุใหญ่เพราะขาดทักษะคาดการณ์อุบัติเหตุ [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www.matichon.co.th/economy.auto/news_2607443
สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ. สถิติสุขภาพคน ไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www.hiso.or.th/thaihealthstat/topic/index.php?t=04&m=01
United Nations Road Safety Collaboration. Global plan for the decade of action for road safety 2011-2020 [Internet]. 2021 [cited 2021 May 20]. Available from:https://www.who.int/roadsafety/decade_of_action/plan/en/
InfoQuest. แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561 – 2564 [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www.ryt9.com/s/cabt/2953371
ฐานเศรษฐกิจ. มท. ตั้งเป้าลดเสียชีวิตทางถนนเหลือ 12 คน ต่อ 1 แสนประชากร [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www.thansettakij.com/content/normalnews/470218
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์การเสีย ชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: http://www.thansettakij.com/content/normal_news/47021
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.