ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุตำบลพยุห์ อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

ประสิทธิ์ ชมชื่น, ส.บ.

บทคัดย่อ

           การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุตำบลพยุห์ อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 203 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นระหว่าง 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 สิงหาคม 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา นำเสนอโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐาน เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 25 และ 75 ใช้สถิติเชิงอนุมานในทำการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุตำบลพยุห์ อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ แบบพหุโดยใช้การวิเคราะห์ Multiple logistic regression และการประมาณช่วงเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ของ Adjusted Odds ratio กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05


           ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่มีผู้ป่วยจิตเวชมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าสูงกว่าผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่ไม่มีผู้ป่วยจิตเวช 4.89 เท่า (AOR=4.89, 95%CI=1.27-18.78) ผู้สูงอายุที่ได้รับปัจจัยทางจิตวิทยาที่ดีมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าน้อยกว่าผู้สูงอายุที่ได้รับปัจจัยทางจิตวิทยาที่ไม่ดี 0.94 เท่า (AOR=0.06, 95%CI=0.02-0.15) ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพดีมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าน้อยกว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดี 0.76 เท่า (AOR=0.24, 95%CI=0.10-0.59) และผู้สูงอายุที่มีการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้น้อยมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่าผู้สูงอายุที่มีการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ดี 9.54 เท่า (AOR=9.54, 95%CI=3.41-26.6) จากผลการวิจัยการป้องกันภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุตำบลพยุห์ อำเภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับปัจจัยดังกล่าว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฐิติรัตน์ ช่างทอง และ เกษตรชัย และหีม. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจิตสังคม การรับรู้ และการสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565.

ธนา คลองงาม. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงอำเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารการแพทย์และสาธารณสุข วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 เดือน มกราคม ถึง เมษายน 2564.

ปิติคุณ เสตะปุระ และ ณัฐธกูล ไชยสงคราม. (2565). ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2564. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565.

พรทิพย์ แก้วสว่าง. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 ปีที่ 19 เล่มที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2564.

พิทยุตม์ คงพ่วง พิมพ์พรรณ อำพันธ์ทอง วัชรี เพ็ชรวงษ์ และ สุนันทรา ขำนวนทอง. (2564). ปัจจัยด้านคุณภาพชีวิตที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลวังลึก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2564).

ไพโรจน์ วงศ์วุฒิวัฒน์. (2561). สังคมผู้สูงอายุ: เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร. [ออนไลน์). สืบค้นวันที่ 10 มีนาคม 2564), แหล่งสืบคัน http://www.bangkokbank.com/download/ EX_Aging_Society_ TH.pdf

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพยุห์. (2565). สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2565.

ลาวัลย์ พิกุล. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าตนเองกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิชัย เอกพลากร. รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 ฉบับ "สุขภาพเด็ก พ.ศ. 2551-52, นนทบุรี: บริษัท เดอะ กราพิโก ซิสเต็มส์ จำกัด; 2551.

วิชาภรณ์ คันทะมูล และ ปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน กันยายน – ธันวาคม 2559.

วิทมา ธรรมเจริญ นิทัศนีย์ เจริญงาม ญาดาภา โชติดิลก และ นิตยา ทองหนูนุ้ย. (2564). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในอำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2564.

สุภาวดี ศรีรัตนประพันธ์. (2561). ความชุกของภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานที่มารักษาในโรงพยาบาลละหานทราย อำเภอละหานทราย. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย ีที่ 33 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561

สุรเดชช ชวะเดช. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุอำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารการแพทย์และสาธารณสุข วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน ถึง ธันวาคม 2562.

อ้อยทิพย์ บัวจันทร์ ณัฐปภัสญ์ นวลสีทอง ธมลวรรณ สวัสดิ์สิงห์ และ ฐาติมา เพชรนุ้ย. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในชุมชน อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารพยาบาล, ปีที่ 70 ฉบับที่ 4, 20-27, 2564.

Beck AT. Depression: Clinic, experimental and theoretical aspects. New York: Hoeber Medical Division; 1967.

Beck, A. T., Rush, A. J., Shaw, B. F., & Emery, G. (1997). Cognitive therapy of depression. New York: The Guilford Press.

Cohen, H.G.,. Staley, F.A. and Willis J. H. 1989. Teaching Science As A Decision Making Process. 2" ed. Iowa : Kendall/ Hunt Publising Company.

Hsieh, F. Y., Bloch, D. A., & Larsen, M. D. (1998). A simple method of sample size calculation for linear and logistic regression. Statistics in Medicine, 17, 1623-1634.

Kelley Orth U, Robins RW, Trzesniewski KH, Maes J. Schmitt M. Low self-esteem is a psucho. 2009; 118(3): 472-8.

National Institute for Health and Clinical Excellence. Delirium: diagnosis, prevention and management (clinical guideline 103). Published July 2010. Accessed at www.nice.org.uk/nicemedia/live/13060/49909/49909.pdf on 3 May 2011.

Srisaenpang P. (2018). Depression in older persons: Comprehensive nursing. Nursing Science and Health, 41(1), 129-140.

United Nations. (2018). World population prospects the 2017 revision volume I: Comprehensive tables. Retrieved from http://www.un.org/en/development/ desa /population

Wongpoom, T., Sukying C., & Udomsubpayakul, U. (2011). Prevalence of depression among the elderly in Chiang Mai province. Psychiatr Assoc Thailand, 56(2), 103-116.

World Health Organization. Depression Definition WHO. Retrieved July 2018 from http:// www.who.int/topict/depression/en; 2015.

World Health Organization. Depression Definition WHO. Retrieved July 2018 from http:// www.whe. int/topict/depression/en; 2018.

World Health Organization. Depression Definition WHO.Retrieved July 2018 from http:// ww.whe.int/topict/depression/en; 2017.

World Health Organization. Regional Office for Europe. (‎2016)‎. Core health indicators in the WHO European Region 2016: special focus: 2030 Agenda for Sustainable Development. World Health Organization. Regional Office for Europe. https://iris.who.int/handle/10665/ 370567