ผลของการสร้างการมีส่วนร่วมและแรงสนับสนุนทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและโรคมะเร็งท่อน้ำดีของประชาชน ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

ศุภกานต์ กันสูง
สุคนธ์ทิพย์ บัวแดง, ปร.ด.

บทคัดย่อ

การวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของผลของการสร้างการมีส่วนร่วมและแรงสนับสนุนทางสังคมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและโรคมะเร็งท่อน้ำดีของประชาชนตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้จากการคำนวณ กลุ่มละ 70  คน โดยกลุ่มทดลองได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ปฏิบัติงานและอาศัยอยู่ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ปฏิบัติงานและอาศัยอยู่ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองฮาง.อำเภอเบญจลักษ์  จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับโปรแกรมการคัดกรองและดูแลสุขภาพตามปกติของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับโปรแกรมการดูแลตามระบบปกติของสาธารณสุข เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 2 ครั้ง ก่อนและหลังการทดลอง ระหว่างเดือน กันยายน – เดือนพฤศจิกายน 2566  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนานำเสนอด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐาน เปรียบเทียบผลต่างของคะแนนเฉลี่ยของตัวแปรระหว่างกลุ่มโดยใช้สถิติ Independent t-test กำหนดนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่าผลต่างคะแนนเฉลี่ยของความรู้ ทัศนคติ การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรงของโรค  การสนับสนุนทางสังคม ความตั้งใจในการปฏิบัติตัว การรับรู้ความสามารถของตนและพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการทดลองแสดงว่าโปรแกรมการที่พัฒนาขึ้นสามารถสร้างการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดีได้ผลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กลุ่มโรคหนอนพยาธิ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค.(2562).รายงานผลการศึกษาสถานการณ์ โรค

หนอนพยาธิและโปรโตซัวของประเทศไทย ปี 2552.นนทบุรี:กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข;2552.

กระทรวงสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย.(2552).แนวทางการดำเนินงานโครงการกำจัดพยาธิใบไม้ตับ และ

มะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์ครบ 70 ปี นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข;2552.

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค. รายงานผลการศึกษาสถานการณ์โรคหนอนพยาธิและโปรโตซัวของ

ประเทศไทย. 2552.

กรมควบคุมโรค.(2565).กระทรวงสาธารณสุข.Coronavirus Disease (COVID-19) Dashboard

https://ddc.moph.go.th/index.php. มกราคม 2565..

ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล. (2543).พยาธิใบไม้ตับ. วารสารโรคติดต่อ. 2543; 26 [3].

ทวีเลิศ ชายงามและคณะ..(2563). ผลของโปรแกรมสุขศึกษาจากการประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ และมะเร็งท่อน้ำดี น้ำดีของประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไป ตำบลเมืองใหม่อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู.วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน 2563;3(2), 1-15.

วรวุฒิ นามวงศ์. (2562) ผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับกระบวนการกลุ่มเพื่อป้องกันการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับซ้ำในประชาชนจังหวัดศรีสะเกษ..วิทยานิพนธ์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี;2562

เบญจวรรณ สอนอาจ. (2564). แนวทางการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ ของประชากรวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล[อินเตอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อวันที่ 2ตุลาคม 2564].ได้

จาก: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/2756/1/61260304.pdf.

ประสิทธิ์ วัฒนาภา, ชวลิต ไพโรจน์กุล..(2545). รายงานฉบับสมบูรณ์ : ประมวลผลองค์ความรู้เพื่อการวิจัยพยาธิบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี.

นันทพร ศรีนอก.(2556).รูปแบบการดำเนินงานการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับในระดับชุมชน จังหวัดหนองบัวลำภู.วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นิศร ผานคำ.(2557). กระบวนพัฒนารูปแบบการดำเนินการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับในระดับชุมชน ตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชา

สาธารณสุขศาตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุคนธ์ทิพย์ นรสาร.(2564).การพัฒนารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคหนอนพยาธิในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจังหวัดศรีสะเกษใ วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ.(2563).แนวทางการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคหนอนพยาธิ

ปี 2563.ศรีสะเกษ.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ.(2565).ข้อมูลการบริหารจัดการการควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและ มะเร็งท่อน้ำดี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ. http://203.157.165.36/cockpit_ssko66/kpiamphur2.php?id=601004.

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเบญจลักษ์.(2565).ข้อมูลการบริหารจัดการการควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและ มะเร็งท่อน้ำดี สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเบญจลักษ์. http://dc.ssko.moph.go.th/kpi65/index2.php?amp=3319.

Andrew RH, Sithithaworn P, Petney TN. Opisthorchis viverrini : an underestimated parasite in world health. Trends in Parasitology. 2008; 24 [11]: 497-501.

WHO. Report of the WHO Expert Consultation on foodborne Trematode Infections and

Taeniasis / Cysticercosis. Geneva; 2011.

IARC. IARC Monographs on the Evaluation of Carcinogenic Risks to Humans Part B: Biological Agents VOLUME 100A Review of Human Carcinogens. Geneva: WHO Press; 2011.

Jongsuksuntigul P, Imsomboon T. Opisthorchiasis control in Thailand. Acta Trop. 2003;88 [3]: 229-32.

Muller R. Worms and Human Disease. CABI publishing: 2002. Cited by Andrews RH, Sithithaworn P, Pentney TN. Opisthorchis viverrini: an underestimated parasite in world health. Trends in Parasitology. 2008; 24[11]: 497-501.

Kaewpitoon N,Kaewpitoon SJ, Ueng-Arporn N,Rujirakul R, Churproong S,Matrakool L, et al.

Carcinogenic human liver fluke: Current status of Opisthorchis viverrini metacercariae in Nakhon Ratchasima, Thailand. Asian Pac J Cancer Prev. 2012; 13 [4]: 1235-40.

IARC.(2011). Monographs on the Evaluation of Carcinogenic Risks to Humans Part B: Biological Agents VOLUME 100A Review of Human Carcinogens. Geneva: WHO Press.

Buntilov V, Wattanayingcharoenchai S, Nithikathkul C, Wongsaroj T.(2011). A geographic information system for estimating the prevalence of Helminthiasis in the North-Eastern Thailand. Asian Conference on Remote Sensing, Taipei, Taiwan; October 2011; 2011.

Wongsaroj T, Nithikathkul C, Rojkitikul W, Nakai w, Royal L, Ramasut P. National survey of

Helminthaisis in Thailand. Asian Biomedicine. 2014

Upatham Es, Viyanant V, Kurathong S, Rojborwonwitaya J, Brockelman Wy, Ardsungnoen S, et al. (1984).Relationship between prevalence and intensity of Opisthorchis viverrini infection, and clinical symptoms and signs in rural community in north-east Thailand.Bull World Health

Organ. 1984; 62 [3]: 451-61.

Leiper PT. Note of the occurrence of parasites presumably rare in man. J London School Trop Med 1911; 1: 16-9. Cited by Upatham ES, Viyanant V. Opisthorchis viverrini and opisthorchiasis: a historical review and future perspective. Acta Tropica. 2003; 88 [3]: 171-6.

Upatham Es, Viyanant V. Opisthorchis viverrini and opisthorchiasis: a historical review and future perspective. Acta Tropica. 2003; 88 [3]: 171-6.

Bloom BS. (1968 ). Learning for mastery. Evaluation comment, 1(2). Center for the study of evaluation of instructional programs, University of California, Los Angeles, USA.

Bloom, B.S. (1956).Taxonomy of educational objectives, the classification of educational goals

handbook I: Cognitive domain. New York: McKay.

Becker, M. H. (1974). The health belief model and personal health behavior. Health education

monographs, 2, 324-473.

Lemeshow S, Hosmer.(1990). D.W, & Klar J. Jr. Adequacy of Sample Size in Health Studies.

New York: John Wiley & Sons

Lewin, Kurt.(1951). “Field. Theory and Leaning” Ind. Cartwright Field theory in Social

Science:Selected Theoretical. New York:Harper and Row.