ประสิทธิผลการศึกษาสุขภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังในเขตตำบลโนนปูน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกันตรวจ ตำบลโนนปูน อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

ทวีติยา จันคณา, วท.บ.
ศิริยุพา ขันทอง, วท.บ.

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบสุขภาวะสุขภาพผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังตำบลโนนปูน อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปที่อยู่ตามลำพัง โดยการคัดจากอาสาสมัครที่เป็นผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังได้รับโปรแกรมแบบสอบถาม 9 ด้าน จำนวน 50 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย รวมถึงแบบคัดกรองผู้สูงอายุ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง 1 ตุลาคม 2566 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2567 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนานำเสนอด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลพฤกษ์ พลศร. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการใช้เวลาว่างเพื่อส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพ.

บรรลุ ศิริพานิช. (2548). คู่มือผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.

ปัญญภัทร ภัทรกัณทากุล. (2544). การเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมและความผาสุกทางใจของผู้สูงอายุ . มหาวิทยาลัยเชียงใหม่/เชียงใหม่.

ปาริชาต เทพอารักษ์ และ อมราวรรณ ทิวถนอม. (2550). สุขภาวะของคนไทย จุดเริ่มต้นของความอยู่เย็นเป็นสุข. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 44(1), 12-17.

พระครูประภากรสิริธรรม (เกษม สุวณฺโณ). (2560).การศึกษาสุขภาวะของผู้สูงอายุในเขตชุมชนท่าอิฐ วัดแสงสิริธรรม ตำบลท่าอิฐ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงการณราชวิทยาลัย.

พระไพศาล วิสาโล. (2552). ธรรมเพื่อสุขภาวะบนวิถีพอเพียง. สืบค้นจาก

https://www.visalo.org/article/healthDhamperSukapawa.htm

มธุรส สว่างบำรุง. (2566). การจัดการชีวิตและภาวะพึ่งพิงเพื่อความสุขของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพัง. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9.

มยุรี ถนอมสุข. (2549). การพัฒนารูปแบบการออกกาลงั กาย เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

รณกร เส็งสอน. (2563). พฤติกรรมการใช้เวลาว่างและสุขภาวะของผู้สูงอายุในจังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศิริชัย วนาทรัพย์ดำรง. (2556). สุขภาวะ. สืบค้นจาก

http://www.khonkaen.go.th/khonkaen6/fileDir/news/20130107-new%208-1-56.pdf

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข . (2539). สังคมวิทยาภาวะสงู อายุ : ความเป็นจริงและการคาดการณ์ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2552). ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550. นนทบุรี: บริษัท วิกิ จำกัด.

สิวลี ศิริไล. (2549). ความอยู่ดีมีสุขของชีวิตมนุษย์. วารสารราชบัณฑิตยสถาน.

สุขภาพเพื่อการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : แนวคิด แนวทาง และแนวปฏิบัติ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.สุขภาพเพื่อการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : แนวคิด แนวทาง และแนวปฏิบัติ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

องค์การอนามัยโลก. (2541). ความหมายและความสำคัญของสุขภาพ. สืบค้นจาก

http://www.human.cmu.ac.th/home/hc/ebook/006103/lesson4/02.htm