รูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหว้าน อ าเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

มยุรี สิมมะโรง

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสของประชาชนใน
เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหว้าน อ าเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ระยะเวลาในการวิจัย ระหว่าง เดือน
มกราคม –มิถุนายน 2565 รวมระยะเวลาการศึกษา ทั้งสิ้น 6 เดือน กลุ่มตัวอย่างในการพัฒนารูปแบบประกอบด้วยประชาชน
นายกองการบริหารส่วนต าบล หัวหน้ากองสาธารณสุข สมาชิกองการบริหารส่วนต าบล ผู้น าชุมชน อสม. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ครูอนามัยโรงเรียน เจ้าอาวาส ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส (ที่เคยป่วย) ญาติผู้ป่วยผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ประชาชน รวม
ทั้งหมด 44 คน กลุ่มตัวอย่างในการประเมินผลของรูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีส ได้แก่ประชาชนในเขต
รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหว้าน อ าเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ จ านวน 2กลุ่มๆละ 15 คน การวิจัยใช้
กระบวนการจัดการคุณภาพ (PAOR) จ านวน 3 วงรอบ โดยแต่ละวงรอบประกอบด้วย ขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ การวางแผน
การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการรวบรวม จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหา และเปรียบเทียบ
ผลต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนและหลังใช้สถิติ paired t-test ผลการวิจัยพบว่าผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการป้องกันและ
ควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสของประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหว้าน อ าเภอปรางค์กู่ จังหวัด
ศรีสะเกษ คือ SDK2SN Model ประกอบด้วย1) Structure & Policy: มีคณะกรรมการด าเนินงานและก าหนดบทบาทหน้าที่
ชัดเจน 2) Data Center: ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา 3) Knowledge–based: การสื่อสารและถ่ายทอดองค์ความรู้ความเข้าใจ
เรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสแก่ประชาชน 4) Service system: ปรับระบบบริการเพื่อรองรับสถานการณ์5) Self-care: การเพิ่ม
ศักยภาพในการดูแลตนเองให้ประชาชนและ6) Networking: ภาคีเครือข่ายในการด าเนินงานควบคุมและป้องกันโรค จาก
ผลการวิจัยรูปแบบที่พัฒนาขึ้นเพิ่มศักยภาพในการด าเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสของประชาชนในเขต
รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหว้าน อ าเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยาณี ปัจจัยเก.(2557). การพัฒนาการดำเนินงานป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีสโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้านดงยาง

ตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม.ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์,

: 1-4

วรารัตน์ สังวะลี.(2558).ความรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีสของประชาชนในเขตพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก

อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “สร้างสรรค์

และพัฒนา เพื่อก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน” ครั้งที่ 2 18-19 มิถุนายน 2558 ณ วิทยาลัยนครราชสีมา

อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา : ภาคโปสเตอร์.

มยุรี สิมมะโรง.(2562). การพัฒนารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อำเภอ

ปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารสุขภาพภาคประชาชน. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนพฤษภาคม – เดือนมิถุนายน

ISSN : 1905 – 2782.

วัฒนาพร รักวิชา.(2557). พฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีส(โรคฉี่หนู) ของประชาชน อำเภอศรีบุญเรือง

จังหวัดหนองบัวลำภู. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสุขภาพชุมชน คณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2557: 1801-1806

วนิดา นาคศิลา.(2557). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีส ของชาวนาในจังหวัด ชัยนาท.

The journal of faculty of Nursing Burapha University. Vol 22 No.1,January-March 2557: 61-72

ธีรวุธ คำโสภา.(2558). รูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซิส ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง จังหวัดศรีสะเกษ.

วารสาร ว.มรม. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 : มกราคม – เมษายน 2558: 125-136)

อำนวยชัย ดวงตะวัน.(2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีสของประชาชนอำเภอ

ปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2558 : 7-14

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาสาธารณสุข.(2555). รายงานการพยากรณ์โรคเลปโตสไปโรค Leptospirosis: A Forecast

Report for 2012 (B.E. 2555). 2555 : ออนไลน์ file:///C:/Users/Muay/Downloads/report_2012_11_no14.pdf

สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2561

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์.(2561). สถาณการณ์เลปโตสไปโรซีส. 2561: ออนไลน์

http://www.khukhanph.com/2018/01/10-2561.html สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2561

เกศรา แสนศิริทวีสุข.(2565).การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการจมน้าโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน จังหวัด

อุบลราชธานี . วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เกศรา แสนศิริ ทวีสุข ณพชร สีหะวงษ์ และ สุขสันต์ กองสะดี. (2559).การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมความปลอดภัยจาก

การบาดเจ็บจราจรและจมน้ำโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลคอนกามอำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ.

วารสารวิชาการสาธารณสุข. (2559) 25,5 : 812-822

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอปรางค์กู่.(2561). รายงานการเฝ้าระวังโรค พ.ศ. 2564.[เอกสารอัดสำเนา]. ศรีสะเกษ: สำนักงาน

สาธารณสุขอำเภอปรางค์กู่.