ผลของการสร้างการมีส่วนร่วมและแรงสนับสนุนทางสังคมในการส่งเสริมศักยภาพในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลด่าน อำเภอราษีไศลจังหวัดศรีสะเกษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสร้างการมีส่วนร่วมและแรงสนับสนุนทางสังคมในการส่งเสริมศักยภาพในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลด่าน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลองจำนวน 71 คน กลุ่มเปรียบเทียบจำนวน 75 คน รวม 146 คน คือ กลุ่มทดลอง ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลด่าน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มเปรียบเทียบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลหนองบัวดง อำเภอศิลาลาด จังหวัด/ศรีสะเกษ โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ กลุ่มเปรียบเทียบไม่ได้รับโปรแกรม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 2 ครั้ง ก่อนและหลังการทดลอง ระหว่าง 8 กรกฎาคม 2565 ถึงวันที่ 10 กันยายน 2565 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนานำเสนอด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐาน เปรียบเทียบผลต่างของคะแนนเฉลี่ยของตัวแปรระหว่างกลุ่มโดยใช้สถิติ Independent t-test กำหนดนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ผลต่างคะแนนเฉลี่ยของความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้โอกาสเสี่ยงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ความรุนแรงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แรงสนับสนุนทางสังคมต่อการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ความตั้งใจต่อการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกันและควบคุมโรค และพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการทดลองแสดงว่าโปรแกรมการที่พัฒนาขึ้นสามารถส่งเสริมศักยภาพในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลได้ผลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูล (เขียนข้อกำหนด)
References
Al-Hanawi.,et al.(2020).Knowledge, Attitude and Practice Toward COVID-19 Among the Public in the Kingdom of Saudi Arabia: A Cross-Sectional Study. May 2020Frontiers in Public Health 8DOI:10.3389/fpubh.2020.00217Project: COVID-19 Research.
orld Health Organization.(2019). Report of the WHO-China Joint Mission on Coronavirus Disease 2019 (COVID-19). 16-24 February.
World Health Organization.(2020). Report of the WHO-China Joint Mission on Coronavirus Disease 2019 (COVID-19). 16-24 February.
Bloom BS. (1968 ). Learning for mastery. Evaluation comment, 1(2). Center for the study of evaluation of instructional programs, University of California, Los Angeles, USA.
Bloom, B.S. (1956).Taxonomy of educational objectives, the classification of educational goals handbook I: Cognitive domain. New York: McKay.
Becker, M. H. (1974). The health belief model and personal health behavior. Health education monographs, 2, 324-473.
Haleem A, Javaid M, Vaishya R. Effects of COVID 19 pandemic in daily life. CMRP. 2020;10:78-79, 2020.Sintema EJ. Effect of COVID-19 on the performance of grade 12 students: Implications for STEM education. EURASIA J Math Sci Tech Ed. 2020; 16(7), em1851, 2020.
Lemeshow S, Hosmer.(1990). D.W, & Klar J. Jr. Adequacy of Sample Size in Health Studies. New York: John Wiley & Sons Inc.
Lewin, Kurt.(1951). “Field. Theory and Leaning” Ind. Cartwright Field theory in Social Science:Selected Theoretical. New York:Harper and Row.
Likert, R. A. (1932).Technique for the Measurement of Attitude. Archives Psychological. 3(1), pp. 42-48.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.(2564) คู่มือมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ปี2564, https://ricd.go.th/webth2/wp-content/uploads/2021/06/Health-Service-System-Standards-Year-64.pdf.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.(2564). คู่มือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรณีการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.(2565). คู่มือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินกรณีการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย.
กรมควบคุมโรค.(2565). กระทรวงสาธารณสุข.Coronavirus Disease (COVID-19) Dashboard https://ddc.moph.go.th/index.php. มกราคม.
นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล, นงค์คราญ วิเศษกุล, ขวัญพนมพร ธรรมไทย, คําพอง คํานนท์, ศรีสกุล สังกําปง ,รูซีลา โตะกีเล.(2563).ปัจจัยทํานายการปฏิบัติของประชาชนไทยต่อผู้ที่เคยติดเชื้อหรือผู้ถูกกักกันและผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 (ระยะที่ 1). สำนักวิจัยแห่งชาติ https://www.khonthai4-0.net/?wpfb_dl=142.
กิตติพร เนาว์สุวรรณ, Singweratham N, Waichompu N, Chayakul K. (2563).ความสำเร็จในดำเนินงานควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในประเทศไทย. Princess of Naradhiwas University Journal. 2020 Sep 15;12(3):195–212.
คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Behavioral Insights ของครัวเรือนไทยภายใตสถานการณ COVID-19. ภายใตการสนับสนุนของ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตรวิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.). สืบคนจาก https://drive.google.com/file/d/1s-tvSan9LHnDWbfbs4t8vIeqWAJw4ekj/view.สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน, 2563.
จารุวรรณ แหลมไธสง, ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ, พรนภา หอมสินธุ์.(2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก กรุงเทพมหานคร. วารสารการพยาบาล: Received June 14, 2017; Revised July 27, 2018; Accepted May 10, 2019.
ณัฎฐวรรณ คำแสน.( 2564) .ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ ไวรัสสโควิด-19 ของประชาชนในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี.วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระ จอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2564.
สุภาภรณ์ วงธิ.(2564) .ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของ
จารุวรรณ แหลมไธสง. (2559). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อทางเดินหายใจของผู้ดูแลเด็ก ปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็ก กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวช ปฏิบัติชุมชน). มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชวาล แพรัตนกุล. ความรูและการรับรู. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์, 2546.
ณัฏฐญา พัฒนะวาณิชนันท์ N, Ruangrattanatrai W, Kongsueb P, Khamha C, Kitphati R, Sirilak S. การบริหารจัดการทรัพยากรสำหรับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทยโดยใช้แบบจำลองข้อมูลจาก Big Data. JHS. 2020 Jun 30;29(3):386–99.
ณัฐดนัย จันทา. (2553). ผลของโปรแกรมการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชน อำเภอน้ำเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการระบบสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธานี กล่อมใจ, จรรยา แก้วใจบุญ, ทักษิกา ชัชวรัตน์. (2563).ความรู้และพฤติกรรมของประชาชนเรื่องการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 2.
ธวัชชัย ยืนยาว, เพ็ญนภา บุญเสริม. (2563).ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหญิงในจังหวัดสุรินทร์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ปีที่ 35
ฉบับที่ 3.
ธานี ชัยวัฒน์และคณะ, Chaiwat T, ไม้งาม น, Mai-Ngam N, ดำชื่น ณ, Dumchuen N, et al. เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมว่าด้วยเส้นทางชีวิตและกิจกรรมร่วมของครัวเรือนไทยภายใต้สถานการณ์ COVID-19 [Internet]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2020 May [cited 2020 Oct 7]. Available from: https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5233
นงเยาว เกษตรภิบาล, นงคคราญ วิเศษกุล, ขวัญพนมพร ธรรมไทย, คําพอง คํานนท์, ศรีสกุล สังกําปง นภชา สิงห์วีรธรรม, วัชรพล วิวรรศน์ เถาว์พันธ์, กิตติพร เนาว์สุวรรณ, เฉลิมชัย เพาะบุญ, สุทธิศักดิ์ สุริรักษ์. (2563).การรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของทันตาภิบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.วารสารสถาบันบำราศนราดูร ปีที่ 14 ฉบับ ที่ 2.
ปัญญา พละศักดิ์.(2564) รูปแบบการจัดการภาวะวิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตเมือง จังหวัดศรีสะเกษ.วิจัยและพัฒนา
ระบบสุขภาพ.ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (2021): พฤษภาคม - สิงหาคม 2564
โรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556-2559). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2564). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ส านักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์
วิญญ์ทัญญู บุญทัน และคณะ. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในการป้องกันการติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ของผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลต ารวจ, 12(2), 323-337.
สุภาภรณ์ วงธิ.(2564) .ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย"วิทยานิพนธ์ ส.ม. สาขาวิชา-, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2564.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ. ข้อมูลสำคัญของจังหวัดศรีสะเกษเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(Covid 19). การสำรวจพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(Covid 19). http://www.sisaket.go.th/covid19, 2563.
สำนักงานสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ผลสำรวจพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโควิด 19. https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/144015, 2563. สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน, 2563.
สุคนธ์ทิพย์ นรสาร. (2564). การบูรณาการการดูแลระยะยาวในการป้องกันและควบคุมโรคหนอนพยาธิในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จังหวัดศรีสะเกษ.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ตติพร เนาว์สุวรรณ, นภชา สิงห์วีรธรรม และนวพร ด าแสงสวัสดิ์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความ รุนแรงของโรคต่อบทบาทการดำเนินงานควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในประเทศไทย. วารสารสถาบันบำราศนราดูร, 14(2), 92-103.